fbpx

Books

10 Mar 2017

ทราย เจริญปุระ : การอ่านไม่เห็นต้องปีนบันได

ในการพบปะกันครั้งแรก ทราย เจริญปุระ เป็นผู้ที่บอกว่า “โปรเจ็กต์นี้นี้น่าจะเรียกว่า ‘ความน่าจะอ่าน’ เนอะ” แล้วโปรเจ็กต์นี้ก็ได้ชื่อนี้ขึ้นมาจริงๆ เป็นชื่อที่เหมาะมากกับโปรเจ็กต์ทั้งหมด น่าจะพูดได้ว่า ทรายเป็นนักอ่านที่อ่านหนังสือกว้างขวางที่สุดในบรรดากรรมการทั้งหมด เธอบอกว่าตัวเองเป็นตัวแทนของ ‘นักอ่านสายป๊อบ’ ซึ่งก็มาเป็นจิ๊กซอว์ให้กับคณะกรรมการทั้งหมดได้ลงตัวอย่างยิ่ง

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

10 Mar 2017

Issue of the Age

9 Mar 2017

เมื่อหุ่นยนต์เริ่มคล้ายมนุษย์ : อะไรคือจุดเริ่มต้นของความคล้าย

บางครั้งเราอาจจะรู้สึกสับสนว่าสิ่งนี้เป็นมนุษย์หรือเป็นหุ่นยนต์กันแน่ มาดูกันว่าอะไรที่ทำให้เรามองว่ามนุษย์กับหุ่นยนต์เริ่มมีความคล้ายกัน

วิโรจน์ สุขพิศาล

9 Mar 2017

Books

9 Mar 2017

สฤณี อาชวานันทกุล : คุณค่าทางวรรณกรรม ใครเป็นคนกำหนด?

สฤณี อาชวานันทกุล หนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ชวนเรามาตั้งคำถามว่า ‘คุณค่า’ ของรางวัลวรรณกรรมต่างๆ คืออะไร ประเด็นนี้ไม่เพียงสำคัญ แต่ยังชวนเราตั้งคำถามกับสิ่งที่เป็นอยู่ เพื่อก้าวสู่ความน่าจะเป็นในอนาคตด้วย

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

9 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

นิวัต พุทธประสาท : คนทำหนังสือยุคนี้ ควรมีทัศนคติที่ดีต่อสื่อออนไลน์

นิวัตเป็นทั้งนักเขียน นักอ่าน และบรรณาธิการที่ทำงานด้านวรรณกรรมไทยมากว่า 20 ปี เขาบอกว่าสื่อออนไลน์คืออาวุธที่ต้องใช้เพื่อเข้าถึงคนอ่านให้กว้างที่สุด ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไม 101 จึงเชื้อเชิญเขามาร่วมเป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เพื่อร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ติดตามความคิดของเขาได้-ที่นี่!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน กับการแนะนำหนังสือที่ ‘เอาแต่ใจที่สุด’

‘ความน่าจะอ่าน’ เกิดขึ้นด้วยแนวคิดที่ผสมกันระหว่าง ‘การรีวิว’ และ ‘การให้รางวัล’ โดยมีคอนเซ็ปต์ง่ายๆว่า ไม่ต้องซีเรียสจริงจังนั่งกอดอกพยักหน้า ไม่ต้องเกรงบารมีผู้ทรงคุณวุฒิใดๆทั้งสิ้น ใครจะเชื่อไม่เชื่อก็สุดแล้วแต่ ชอบไม่ชอบก็แชร์กันได้ กับ 5 กรรมการ อย่าง นิวัต พุทธประสาท / สฤณี อาชวานันทกุล / ทราย เจริญปุระ / ทีปกร วุฒิพิทยามงคล และ โตมร ศุขปรีชา ที่ 101 ชวนมาคัดเลือกหนังสือแนะนำตามใจและความชอบของพวกเขาเองล้วนๆ

ถ้าอยากรู้ว่าคนเหล่านี้จะเลือกหนังสืออะไรมาแนะนำบ้าง-โปรดติดตาม!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

6 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน : ทำไมไม่อ่าน?

คนไทยอ่านหนังสือกันปีละกี่บรรทัด?

ถามคนแต่ละคน คงได้ตัวเลขที่แตกต่างกันไม่รู้จบ แต่ที่เห็นพ้องต้องกันแน่ๆ ก็คือการอ่านของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า-พวกเราชาวไทยนั้น, มันน้อยจริงๆ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

6 Mar 2017

Lifestyle

1 Mar 2017

ญี่ปุ่นก็มีมัมมี่ (พระ)

พูดถึงมัมมี่ ใครๆ ก็ต้องนึกถึงอียิปต์ทั้งนั้น แต่ไปญี่ปุ่นบ่อยๆ นี่ คุณรู้หรือเปล่าว่าญี่ปุ่นก็มีมัมมี่กับเขาเหมือนกัน
แต่เป็น ‘มัมมี่พระ’!

กองบรรณาธิการ

1 Mar 2017

Life & Culture

24 Feb 2017

มารู้จักกับ ‘ห้องแล็บขนมปัง’ กันเถอะ

คำว่า ‘ห้องแล็บขนมปัง’ หรือ Bread Lab ในที่นี้ ไม่ใช่ชื่อร้านขายขนมปังเก๋ๆ ที่ไหน แต่มันคือห้องแล็บที่เป็นห้องปฏิบัติการจริงๆ ของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐวอชิงตัน หรือ The Washington State University ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อทำงานด้านขนมปังกันโดยเฉพาะ!

กองบรรณาธิการ

24 Feb 2017

QUEER FACTOR

23 Feb 2017

โปรดเรียกฉันว่า ‘เควียร์’

โลกนี้ไม่ได้มีแค่สองเพศ และโลกนี้ก็ไม่ได้มีแค่สาม สี่ หรือห้าเพศ แล้วเราจะอยู่กันยังไงเมื่อเรื่องเพศมันช่างซับซ้อน โยงใยยิ่งกว่าใยแมงมุม แค่เรื่องอย่าง ‘คำ’ ที่ดูไม่มีอะไร ก็ไม่ง่ายอย่างที่คิดแล้ว

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

23 Feb 2017

Life & Culture

23 Feb 2017

ชีวิตไร้ค่า? : ชีวิตคุณราคาเท่าไหร่กันแน่

สำหรับหลายคนชีวิตเป็นสิ่งที่ประเมินค่าไม่ได้ แต่สำหรับนักเศรษฐศาสตร์การตีราคาชีวิตไม่ใช่แค่ทำได้ แต่ยังจำเป็นต้องทำด้วย

สมคิด พุทธศรี

23 Feb 2017

Life & Culture

23 Feb 2017

จะมีลูกไปทำไมกัน!

รัฐออกมาสนับสนุนให้คนมีลูก แต่คนรุ่นใหม่จำนวนไม่น้อยบอกว่าไม่! เราจะไม่มีลูกเป็นอันขาด เปล่านะที่รัก ไม่ได้ไม่อยากแต่งงานกับคุณ แต่แค่ไม่อยากมีลูกเท่านั้นแหละ ได้โปรดเข้าใจด้วย!

กองบรรณาธิการ

23 Feb 2017

Life & Culture

23 Feb 2017

ชีวิต (ไม่) La La ของความเป็นหญิงบน Land จอเงิน

มองแบบผ่านๆ รักแสนหวานของหญิงสาวใน La La Land อาจดูสวยงาม แต่ในดินแดนแลนด์ฮอลลีวู้ด ผู้หญิงในอุตสาหกรรมบันเทิงแห่งนี้อาจอยู่ยากกว่าผู้หญิงในยุควิคตอเรียนเสียด้วยซ้ำ!

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

23 Feb 2017
1 176 177 178

MOST READ

Phenomenon

2 May 2024

พ่อแม่แบบไหนเสียใจที่มีลูก

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาคิดเรื่อง ‘ความเสียใจที่มีลูก’ ชวนมองย้อนไปถึงแรงกดดันจากสังคมซึ่งสัมพันธ์กับค่านิยมเรื่องสถาบันครอบครัว

โตมร ศุขปรีชา

2 May 2024

Interviews

6 May 2024

แย่งงาน หลายใจ และใดๆ ที่เอไอทำได้: คุยเรื่องเอไอในฐานะจุดเปลี่ยนวัฒนธรรมมนุษย์ กับ อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล

101 สนทนากับ อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ต่อประเด็นวัฒนธรรมมนุษย์กับเอไอ ข้อกังวลเมื่อเอไอเข้ามามีบทบาทในชีวิต ตลอดจนหลักการกำกับดูแลเอไอในเชิงนโยบายเพื่อให้คนอยู่ร่วมกับเทคโนโลยีได้อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ณัชชา สินคีรี

6 May 2024

Life & Culture

7 May 2024

Palliative care : เมื่อการดูแลแบบ ‘ไม่เร่ง’ และ ‘ไม่ยื้อ’ ความตาย กลายเป็นสิ่งที่คนเข้าไม่ถึง

101 ชวนเข้าใจการดูแลแบบประคับประคอง (palliative care) การดูแลที่ไม่เร่งให้ความตายเกิดขึ้นก่อนธรรมชาติ แต่ก็ไม่ยื้อให้เกิดขึ้นช้าลง

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

7 May 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save