fbpx

Life & Culture

24 Dec 2021

101 Gaze Ep.6 “Well-dying หากความตายคือ ‘ชีวิต’ วันสุดท้ายที่มีคุณภาพ”

101 Gaze ชวนเปิดบทสนทนาว่าด้วยเรื่องความตายและความหมายของชีวิต ทำความรู้จักการรักษาแบบประคับประคองและการจัดการชีวิตในวาระสุดท้ายเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด พูดคุยกับ ผศ.คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ ศ.นพ.ดร.อิศรางค์ นุชประยูร จากคลินิกกุมารชีวาภิบาล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ

24 Dec 2021

Life & Culture

10 Dec 2021

ทำความเข้าใจ ‘สายมูยุคดิจิทัล’ ด้วย มานุษยวิทยาการพยากรณ์

ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา ชวนมอง ปรากฏการณ์ ‘สายมูยุคดิจิทัล’ ผ่านมุมมองมานุษยวิทยา ตั้งคำถามว่า ทำไมความเชื่อและความศรัทธาในโหราศาสตร์และการพยากรณ์ยังคงดำรงอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีพัฒนาไปก้าวไกลแล้ว

ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา

10 Dec 2021

Life & Culture

29 Nov 2021

อ่านศาสนากับการเมือง: อำนาจ ศักดินา และเกมความเชื่อ กับ คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

คุยกับคมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง ว่าด้วยอำนาจและศักดินาที่อยู่ในศาสนา ไปจนถึงการย้อนมองและวิพากษ์วิจารณ์ศาสนากับรัฐไทย

กองบรรณาธิการ

29 Nov 2021

Life & Culture

25 Nov 2021

เมื่อ “อีสาน” กลายเป็น “บาหลีแห่งประเทศสยาม” ปลายทศวรรษ 2470

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เล่าถึงเรื่องราว ที่มาที่ไป เมื่อครั้งหนึ่ง อีสานเคยถูกเปรียบเหมือนบาหลีแห่งสยาม

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

25 Nov 2021

Life & Culture

8 Nov 2021

อาหารจานด่วน (ค) ชักเย่อกับ ‘วัฒนธรรมฟาสต์ฟู้ด’

นิติ ภวัครพันธุ์ พาสำรวจ ‘ฟาสต์ฟู้ด’ และอุตสาหกรรมอาหาร ตั้งแต่พัฒนาการของธุรกิจที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการกิน ผลกระทบของฟาสต์ฟู้ดต่อสุขภาพของผู้บริโภค ไปจนถึงการปรับตัวของธุรกิจฟาสต์ฟู้ดเพื่อความอยู่รอด

นิติ ภวัครพันธุ์

8 Nov 2021

Life & Culture

13 Oct 2021

อาหารจานด่วน (ข) ความยอกย้อนของ ‘ฟาสต์ฟู้ด’

ท่องโลก ‘อาหารจานด่วน’ ไปกับ นิติ ภวัครพันธุ์ และเรื่องราวของเมนูยอดนิยมในสังคมตะวันตก ที่พัฒนามาจากอาหารผู้อพยพ และกลายเป็นอาหารจานด่วนที่เรารู้จักกันดีในวันนี้

นิติ ภวัครพันธุ์

13 Oct 2021

Life & Culture

22 Sep 2021

ตั้งแต่ ‘เคี้ยว’ ยัน ‘ขาย’ ในวันที่ปลดล็อกเสรี ‘พืชกระท่อม’

101 เดินทางไปยังตลาดดินแดงเพื่อทำความรู้จักพืชกระท่อมกับ คิว-กษาปณ์ พุ่มพวง เจ้าของธุรกิจค้าใบกระท่อม ที่หอบเอาใบกระท่อมสดๆ จากภาคใต้หลายร้อยกิโลกรัมมาเปิดขายถึงในใจกลางเมืองหลวง ตั้งแต่จุดเริ่มต้นธุรกิจค้าขายกระท่อม ภาพจำของการถูกมองว่าเป็นพืชเสพติด และชวนมองถึงอนาคตของตลาดใบกระท่อม เพราะถึงแม้วันนี้จะขายได้ แต่ก็ยังแปรรูปเป็นสินค้าอื่นไม่ได้

กองบรรณาธิการ

22 Sep 2021

Human & Society

13 Sep 2021

อนาคตมานุษยวิทยา-มานุษยวิทยาอนาคต: มองก้าวต่อไป โลกใหม่ ‘มานุษยวิทยา’

101 ร่วมกับศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ชวนเปิดขอบฟ้ามานุษยวิทยาไปสู่อนาคตกับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, รศ.ดร.จักรกริช สังขมณี และ ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ ว่าด้วยศักยภาพของมานุษยวิทยาในการสรรสร้างสังคมในอนาคตและความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในศาสตร์มานุษยวิทยา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

13 Sep 2021

Human & Society

9 Sep 2021

อาหารจานด่วน (ก) ‘จานด่วน’ ที่มาก่อน ‘ฟาสต์ฟู้ด’

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึง ที่มาและพัฒนาการของ ‘อาหารจานด่วน’ ที่เดินทางไปค่อนโลกผ่านผู้อพยพชาวจีน รวมทั้งอิทธิพลของอาหารจานด่วนแบบจีนๆ ที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นจนกลายเป็นอาหารจานด่วนที่ถูกปากผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ

นิติ ภวัครพันธุ์

9 Sep 2021

Life & Culture

24 Aug 2021

อนาคตมานุษยวิทยา-มานุษยวิทยาอนาคต

เก่งกิจ กิติเรียงลาภชวนตั้งคำถามต่อหัวใจของวิชามานุษยวิทยาว่าแท้จริงแล้วคือสิ่งใด และอนาคตของมานุษยวิทยาจะเดินไปทิศทางไหน

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ

24 Aug 2021

Bite-Sized Clip

13 Jul 2021

ภารกิจในวาระสุดท้าย การขนร่างผู้เสียชีวิตในยุค COVID-19

101 พูดคุยกับ จักรกฤษณ์ แต่งตั้ง ผู้ก่อตั้งโครงการส่งผู้เสียชีวิตฟรีทั่วประเทศ ที่อาสารับภารกิจส่งร่างผู้เสียชีวิตจากโรงพยาบาล-บ้านจนถึงเตาเผาในวาระสุดท้ายของชีวิต

กองบรรณาธิการ

13 Jul 2021

Life & Culture

17 Jun 2021

โบราณคดีขั้วโลกเหนือในวันที่น้ำแข็งกำลังละลาย: คุยกับ แมกซ์ ฟรีเซน นักโบราณคดีที่ดูแลวัตถุโบราณแข่งกับเวลา

คุยกับ แมกซ์ ฟรีเซน นักโบราณคดีที่ทำงานในขั้วโลกเหนือ ว่าด้วยโบราณคดีในวันที่น้ำแข็งขั้วโลกละลาย และสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ได้จากร่องรอยของผู้คนในอดีต

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

17 Jun 2021

Human & Society

17 May 2021

เมื่อที่แห่งนี้ไม่มี ‘ความหวัง’ : มองปรากฏการณ์ ‘ย้ายประเทศ’ กับ ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ

101 พูดคุยกับ ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ย้ายประเทศ’ มองถึงผลสืบเนื่องที่อาจเกิดขึ้นและประเด็นที่รัฐควรรับฟังเพื่อรับมือกับปัญหานี้

วจนา วรรลยางกูร

17 May 2021

Life & Culture

20 Apr 2021

ชาใส่นมหรือไม่ใส่นม? มรดกเจ้าอาณานิคมกับวัฒนธรรมชาในมาเลเซีย-อินโดนีเซีย

มัธธาณะ รอดยิ้ม เขียนถึงความแตกต่างในวัฒนธรรมการดื่มชาของมาเลเซียและอินโดนีเซียที่มีผลมาจากเขตอำนาจของเจ้าอาณานิคมในอดีต

มัธธาณะ รอดยิ้ม

20 Apr 2021
1 5 6 7 14

MOST READ

Documentary

8 Apr 2024

ความลับบนขอบที่ราบสูง: ร่องรอยเสียงทวารวดีในเรื่องเล่าของชาวญัฮกุร

เรื่องราวของชาวญัฮกุร กลุ่มคนที่ยังพูดภาษามอญโบราณที่ อ.เทพสถิต และมีประวัติศาสตร์เชื่อมโยงกับเส้นทางการค้าบนขอบที่ราบสูง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

8 Apr 2024

Life & Culture

16 Apr 2024

สมมติฐานว่าด้วยหนงจื้อเกากับประวัติศาสตร์ล้านนา (1)

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เล่าชีวประวัติของ ‘หนงจื้อเกา’ วีรบุรุษในตำนานชาวไท ที่นักศึกษาไทคดีและล้านนาคดีบางส่วนเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Apr 2024

ของบ่เล่ารู้ลืม

6 May 2024

สมมติฐานว่าด้วยหนงจื้อเกากับประวัติศาสตร์ล้านนา (2)

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงอีกสองตำนานแห่งล้านนาที่น่าจะเชื่อมโยงกับวีรบุรุษหนงจื้อเกาจากจีน ได้แก่ ตำนานลวจังกราช และตำนานสิงหนติกุมาร

พริษฐ์ ชิวารักษ์

6 May 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save