fbpx

Life & Culture

2 Aug 2022

มนต์เสน่ห์ของประวัติศาสตร์ คือการถกเถียงกับอดีตไม่รู้จบ: ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ในวันที่โลกเรียกร้องการทำความเข้าใจมนุษย์และสังคมมากกว่าที่เคย ทิศทางการศึกษาประวัติศาสตร์กำลังมุ่งไปทางไหน? หนทางใดที่นักประวัติศาสตร์จะเปิดคำอธิบายใหม่ๆ เพื่อเข้าใจความเป็นมนุษย์ได้มากยิ่งขึ้น? การเรียนการสอนประวัติศาสตร์ต้องปรับเปลี่ยนอย่างไร? และวงการประวัติศาสตร์จะเดินหน้าต่อไปในอนาคตได้อย่างไร? 101 สนทนากับ ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ในประเด็น ‘ประวัติศาสตร์ต้องรอด!’

กองบรรณาธิการ

2 Aug 2022

Life & Culture

18 Jul 2022

“ประวัติศาสตร์ศูนย์กลางสร้างอคติทางชาติพันธุ์” ชัชวาลย์ โคตรสงคราม นักเขียนผู้เรียกตัวเองว่าลาวล้านช้างฝั่งขวาแม่น้ำโขง

101 ชวนคุยถึงตัวตนและความเป็น ‘ลาวอีสาน’ ของชัชวาลย์ โคตรสงคราม นักเขียนผู้นิยามตัวเองว่า ‘ลาวล้านช้างฝั่งขวาแม่น้ำโขง’

ธัญลักษณ์ ทองสุข

18 Jul 2022

Life & Culture

14 Jul 2022

“ความตายคือการเดินทางของทั้งคนตายและคนที่ยังอยู่” นิติ ภวัครพันธุ์

คุยกับนิติ ภวัครพันธุ์ ว่าด้วยเรื่องพิธีกรรมการส่งคนตายในมุมนักมานุษยวิทยา พิธีกรรมของความตายมีความหมายแค่ไหน คุณค่าของการตายและการมีชีวิตอยู่ต่างกันอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Jul 2022

Life & Culture

5 Jul 2022

Trolley problem #1: การเสียสละเพื่อส่วนรวมเป็นเรื่องที่ถูกต้องทางจริยธรรมเสมอไปหรือไม่?

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง ‘Trolley problem’ หรือ ‘ปัญหารถราง’ ปัญหาจริยศาสตร์สุดคลาสสิก ที่นำไปสู่ดีเบตที่ว่า จะมีวิธีการตัดสินใจแบบไหนบ้างที่จะสามารถคิดคำนวณถึงผลลัพธ์ได้ ในขณะที่เลือกการกระทำที่ถูกต้องในตัวเองไปพร้อมๆ กัน

ตะวัน มานะกุล

5 Jul 2022

Documentary

4 Jul 2022

The Last Journey พิธีแห่งความตาย

101 เสนอสารคดีว่าด้วยความหมายของความตาย คุณค่าของพิธีกรรม การรับมือกับความสูญเสีย และวิธีดำเนินไปของคนที่ยังมีชีวิต ผ่านเรื่องราวของผู้คนหลากหลาย ทั้งคนไร้บ้าน สัปเหร่อ และผู้ที่สูญเสียพ่อจากโควิด

กองบรรณาธิการ

4 Jul 2022

Videos

23 Jun 2022

ทำงาน ทำงาน ทำงาน และความคาดหวังของ ‘คนทำงาน’

22 มิถุนายน 2022 นับเป็นเวลาหนึ่งเดือนพอดีที่ชัชชาติ ก้าวเข้ามาดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ‘คนทำงาน’ เหล่านี้เองที่เป็นส่วนหนึ่งในการกอปรสร้างนโยบายของผู้ว่าฯ อันจะขาดเสียมิได้ และสำหรับพวกเขา กรุงเทพฯ มีอะไรเปลี่ยนไปหรือไม่ ความเคลื่อนไหวใดที่น่าจับตา รวมทั้งอนาคตของกรุงเทพฯ ที่พวกเขาวาดฝันอยากเห็นในฐานะที่เป็นหนึ่งในแรงขับเคลื่อนอันจำเป็นอย่างยิ่ง

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

23 Jun 2022

Documentary

7 Jun 2022

‘ไม่มีให้จำ-ไม่ทำให้ลืม’ ความทรงจำ 120 ปีและอนุสรณ์สถานของขบวนการผู้มีบุญแห่งบ้านสะพือ

สุดารัตน์ พรมสีใหม่ ลงพื้นที่สำรวจความทรงจำขบวนการผีบุญในบ้านสะพือ อ.ตระการพืชผล จ. อุบลราชธานี ซึ่งเป็นสถานที่มีคนถูกสังหารจากรัฐสยามมากว่า 300 คน

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

7 Jun 2022

Life & Culture

2 Jun 2022

ท่องอาณาจักรที่ขับเคลื่อนด้วยศรัทธา เมื่อ ‘ไอ้ไข่’ คือหน้าตาของความหวัง

สารคดีว่าด้วยวัดเจดีย์ไอ้ไข่ ในวันที่ผู้คนตามหาความหวังผ่านการไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

2 Jun 2022

Politics

23 May 2022

วิกฤตศีลธรรมในสังคมพุทธราชาชาตินิยม กับ สุรพศ ทวีศักดิ์

101 ชวน สุรพศ ทวีศักดิ์ พูดคุยเรื่องวิกฤตศีลธรรมในสังคมไทย และรากพุทธไทยแบบพุทธราชาชาตินิยม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

23 May 2022

Life & Culture

12 May 2022

ชีวิต ‘สายมู’ : การนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในยุคเศรษฐกิจ ‘ความเร็วสูง’

ณีรนุช แมลงภู่ เขียนถึงกระแสบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของคนไทย ในยุค ‘เศรษฐกิจความเร็วสูง’ ที่ความไม่แน่นอนคือความแน่นอน

ณีรนุช แมลงภู่

12 May 2022

Interviews

2 May 2022

‘ไปให้พ้นจากความยากจน’ บันทึกชีวิตผู้หญิงอีสานในปารีสที่ฝันถึงความเท่าเทียม

เรื่องราวชีวิตแรงงานไทยจากครอบครัวชาวนา ผู้พลัดอีสานมาอยู่ปารีสนาน 20 ปี โดยเริ่มต้นจากการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ทำงานหนัก-เสี่ยง จนได้สัญชาติฝรั่งเศสและก้าวสู่การเป็นเจ้าของกิจการ ทั้งหมดนี้เพื่อการต่อสู้กับความยากจน และแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า

วจนา วรรลยางกูร

2 May 2022

Life & Culture

8 Feb 2022

‘มนุษย์คืออะไรในเมตาเวิร์ส?’ จินตนาการโลกใหม่ในเลนส์ปรัชญาเทคโนโลยี กับ พิพัฒน์ สุยะ

101 คุยกับ ผศ.พิพัฒน์ สุยะ จากภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เกี่ยวกับโจทย์ใหม่ในชีวิตมนุษย์ เมื่อวันที่เมตาเวิร์สมาเยือน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

8 Feb 2022

Life & Culture

1 Feb 2022

ฉันได้ยิน ฉันจึงเป็นฉัน (2): ปริศนาของ ‘เสียงที่ดังมาจากในหู’

คุณเคยได้ยินเสียงที่ดังออกมาจากในหูหรือเปล่า? อติเทพ ไชยสิทธิ์ ชวนไขปริศนาเสียงที่ดังจากในหูทั้งคนและสัตว์

อติเทพ ไชยสิทธิ์

1 Feb 2022

World

24 Dec 2021

กินคาวไม่กินหวานสันดานใคร?: ความหวานแบบขมๆ จากยุคอาณานิคม

อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนย้อนประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย เพราะเหตุใดชาวอินโดฯ จึงชอบกินหวาน และน้ำตาลกลายเป็นของแสดงสถานะทางสังคม

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

24 Dec 2021

Life & Culture

24 Dec 2021

101 Gaze Ep.6 “Well-dying หากความตายคือ ‘ชีวิต’ วันสุดท้ายที่มีคุณภาพ”

101 Gaze ชวนเปิดบทสนทนาว่าด้วยเรื่องความตายและความหมายของชีวิต ทำความรู้จักการรักษาแบบประคับประคองและการจัดการชีวิตในวาระสุดท้ายเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด พูดคุยกับ ผศ.คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ ศ.นพ.ดร.อิศรางค์ นุชประยูร จากคลินิกกุมารชีวาภิบาล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ

24 Dec 2021
1 4 5 6 14

MOST READ

Documentary

8 Apr 2024

ความลับบนขอบที่ราบสูง: ร่องรอยเสียงทวารวดีในเรื่องเล่าของชาวญัฮกุร

เรื่องราวของชาวญัฮกุร กลุ่มคนที่ยังพูดภาษามอญโบราณที่ อ.เทพสถิต และมีประวัติศาสตร์เชื่อมโยงกับเส้นทางการค้าบนขอบที่ราบสูง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

8 Apr 2024

Life & Culture

3 Apr 2024

‘กองทัพไทยเริ่มต้นด้วยการรบภายใน ไม่ใช่ศัตรูภายนอก’ กระบวนการของกองทัพสมัยใหม่ในการปราบกบฏผู้มีบุญ

จากเรื่องราวการต่อสู้ของกบฏผู้มีบุญ สู่การเปิดประวัติศาสตร์การสร้างกองทัพสมัยใหม่ของสยามในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์

กองบรรณาธิการ

3 Apr 2024

Life & Culture

16 Apr 2024

สมมติฐานว่าด้วยหนงจื้อเกากับประวัติศาสตร์ล้านนา (1)

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เล่าชีวประวัติของ ‘หนงจื้อเกา’ วีรบุรุษในตำนานชาวไท ที่นักศึกษาไทคดีและล้านนาคดีบางส่วนเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save