Bite-Sized Clip
คลิปสั้นที่ถ่ายทอดเสียงและเรื่องราวของผู้คนหลากหลาย หยิบเอาประเด็นที่สังคมจับตามองมาเล่าผ่านวิดีโอสั้นกระชับ
Filter
Sort
เลือกตั้ง หวังอะไร? ฟังเสียงผู้คนหลังสิ้นสุดยุคประยุทธ์ 2
เมื่อเข้าสู่ฤดูกาลเลือกตั้งอย่างเป็นทางการ คำถามสำคัญคือ ประชาชนและผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงคิดเห็นกับการเลือกตั้งครั้งนี้อย่างไร หลังผ่านรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ 2 มา 4 ปีแล้ว ความเปลี่ยนแปลงแบบไหนที่ประชาชนต้องการ และความหวังของประชาชนต่อสังคมการเมืองไทยเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ
23 Mar 2023แท็กซี่ขึ้นราคา อัตราโดยสารใหม่ในวันที่ค่าครองชีพสูงขึ้น แต่ค่าแรงเท่าเดิม
ราชกิจจานุเบกษา ออกประกาศกระทรวงคมนาคมเพื่อจัดเก็บค่าโดยสารแท็กซี่อัตราใหม่เมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา ซึ่งแน่นอนว่าย่อมส่งผลดีต่อคนขับแท็กซี่หลังไม่มีการปรับราคามา 9 ปี ทว่า สวนทางกับค่าเชื้อเพลิง ค่าครองชีพและค่าแท็กซี่ คือค่าแรงของประชาชนที่แทบไม่ขยับขึ้นเลย อย่างนั้นแล้วปลายทางของการปรับราคาครั้งนี้จะเป็นอย่างไร รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อชีวิตเราอย่างไรบ้าง

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
3 Feb 2023ฤดูกาลผักแพง ต้นทุนที่(ต้อง)ยอมจ่าย
เมื่ออุปสงค์และอุปทานไม่สมดุลกัน ราคาผักบางชนิดจึงแพงขึ้น ผลลัพธ์จึงตกอยู่กับพ่อค้าแม่ค้าที่เปิดร้านอาหารที่ต้องแบกรับต้นทุนวัตถุดิบ โดยที่ก็ไม่อาจขึ้นราคาสินค้า บางรายอย่างมากก็เพียงแค่ปรับลดปริมาณลดลง พูดอย่างถึงที่สุด ไม่ว่าจะอย่างไร ประชาชนย่อมเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงนี้

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
24 Jan 2023รถเมล์ขาดช่วง? คนเลิกใช้รถโดยสาร? : สองเดือนหลังเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ เรามาถูกทางแล้วหรือยัง
กว่าสองเดือนที่ผ่านมานี้ แผนการเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ยังคงขลุกขลักอยู่ไม่น้อย นำมาสู่คำถามสำคัญคือ ปลายทางของการเปลี่ยนผ่านระบบขนส่งมวลชนจะเป็นอย่างไร อีกนานแค่ไหนกว่าที่จะลงตัว เพราะไม่ว่าจะอย่างไร ประชาชนคือผู้ได้รับผลกระทบนี้ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งอยู่ดี

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
20 Dec 20225 เดือนหลัง ‘เสรีกัญชา’ ผลประโยชน์ตกที่ใคร
เมื่อการใช้สารกัญชาของผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยหรือมีความจำเป็นนั้น ยังไม่ถูกจัดรวมให้เป็นสิ่งที่ถูกกฎหมายและหามาครอบครองโดยง่าย แล้วเมื่อคนที่จำเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคกลับยังไม่ได้ผลประโยชน์อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยจากการปลดล็อกนี้ คำถามคือแล้วผลประโยชน์ตกอยู่ที่คนกลุ่มไหน นโยบายเสรีกัญชานี้ยังมีรูโหว่อะไรอยู่หรือไม่

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
14 Nov 2022ทำความเข้าใจสุราเสรี เมื่อ ‘กฎกระทรวงผลิตสุราใหม่’ ไม่ใช่ ‘สุราก้าวหน้า’
กว่าระยะเวลา 2 เดือนเมื่อร่าง พ.ร.บ. สุราก้าวหน้าผ่านวาระแรกมาแล้ว และก้าวเข้าสู่การประชุมวาระ 2 และ 3 เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายนที่ผ่านมา แต่ก่อนเข้าสู่สภาเพียง 1 วัน รัฐบาลประกาศแก้ไขกฎกระทรวงผลิตสุราใหม่ จนเกิดข้อถกเถียงตั้งแต่ข้อกฎหมายไปจนถึงว่านี่คือการเคลื่อนไหวในทางการเมืองของฟากฝั่งรัฐบาลหรือไม่? 101 พูดคุยกับ ผศ.ดร.เจริญ เจริญชัย อาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จากกลุ่ม surathai เพื่อหาคำตอบภายใต้สิ่งเจือปนในกฎกระทรวงครั้งนี้

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
4 Nov 2022จาก ‘เมนู’ สู่ ‘เมลิญณ์’ เมื่อถูกรัฐคุกคาม เยาวชนจึงลี้ภัย
เมลิญณ์ หรือชื่อเดิมคือ ‘เมนู-สุพิชฌาย์ ชัยลอม’ เยาวชนนักเคลื่อนไหวการเมือง จำต้องลี้ภัยออกนอกประเทศ หลังถูกคุกคามอย่างหนัก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา
4 Nov 2022นวราตรี 2022 ศรัทธา ความเชื่อในขบวนแห่จากวัดแขก หลัง 2 ปีแห่งความซบเซา
เทศกาลนวราตรีปีนี้ถือเป็นปีแรกที่ได้กลับมาจัดหลังหยุดเว้นระยะไป 2 ปีจากการระบาดของโควิด-19 สำหรับหลายๆ คน การได้กลับมาร่วมพิธีบูชาองค์เทพที่พวกเขาเคารพนับถือจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในแง่ของการมีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจหลังพวกเขาต้องเผชิญความยากลำบากของชีวิตในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
11 Oct 20226 ตุลา 2519 ความทรงจำผ่านสายตาคนรุ่นใหม่
101 สำรวจความคิด-ความทรงจำของเยาวชนคนรุ่นใหม่ในปัจจุบันต่อเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เมื่อ 46 ปีที่แล้ว ในวันที่นักเรียนนักศึกษาเคลื่อนไหวทางการเมืองอีกครั้ง

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา
10 Oct 2022จาก 14 ตุลา ถึง 6 ตุลา : การเคลื่อนไหวของชาวนาภาคเหนือ
ในวาระครบรอบ 46 ปี 6 ตุลาฯ 101 ชวน มนัส จินตนดิลกกุล หรือ ส.เทอด อดีตนิสิตคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ประสานงานโครงงานชาวนาของศูนย์กลางนักศึกษาภาคเหนือมาร่วมย้อนความทรงจำในช่วงเวลานั้น

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
6 Oct 2022Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย
Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย
101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถึงความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

กองบรรณาธิการ
7 Sep 2022ราคาตั๋วหนังยัง ‘ไม่แพง’ ? เมื่อค่าตั๋วหนังในไทยสวนทางกับรายได้คนส่วนใหญ่ในประเทศ
ปัจจุบันราคาตั๋วหนังของโรงมัลติเพล็กซ์ตกอยู่ที่ 120-260 บาท ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์จากผู้ชมว่าอาจเป็นราคาที่ ‘แพงเกินไป’ สำหรับคนกลุ่มใหญ่ของประเทศ หรืออันที่จริง เรายังอยากดูหนังนอกบ้านและหนังในโรงภาพยนตร์กันอยู่ เพียงแต่สู้ราคาไม่ไหว

เมธิชัย เตียวนะ
5 Aug 2022โชคชะตาท่าพระจันทร์ : ในวันที่แสงจันทร์ส่องถึงแค่หมอดูออนไลน์
101 ชวนมองภาพความเปลี่ยนแปลงของวงการหมอดูทั้งแบบออนไลน์และออนไซต์ ในวันที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทจนอาจกลายเป็นการเปลี่ยนผ่านสู่ ‘ยุคโหราศาสตร์ดิจิทัล’

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
3 Aug 2022ค่าครองชีพแสนแพง ค่าแรงแสนถูก ความฝืดเคืองภายใต้ค่าใช้จ่ายรอบทิศ
101 ชวนฟังเสียงผู้ได้รับผลกระทบจากค่าครองชีพที่กำลังทะยานขึ้นสูง ว่าเราจะอยู่กันอย่างไรในวันที่สิ่งจำเป็นต่างๆ กำลังกลายเป็นเรื่องเกินเอื้อม

กองบรรณาธิการ
27 Jun 2022ทำงาน ทำงาน ทำงาน และความคาดหวังของ ‘คนทำงาน’
22 มิถุนายน 2022 นับเป็นเวลาหนึ่งเดือนพอดีที่ชัชชาติ ก้าวเข้ามาดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ‘คนทำงาน’ เหล่านี้เองที่เป็นส่วนหนึ่งในการกอปรสร้างนโยบายของผู้ว่าฯ อันจะขาดเสียมิได้ และสำหรับพวกเขา กรุงเทพฯ มีอะไรเปลี่ยนไปหรือไม่ ความเคลื่อนไหวใดที่น่าจับตา รวมทั้งอนาคตของกรุงเทพฯ ที่พวกเขาวาดฝันอยากเห็นในฐานะที่เป็นหนึ่งในแรงขับเคลื่อนอันจำเป็นอย่างยิ่ง

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์
23 Jun 2022‘ทุกจังหวัดต้องมีสิทธิเลือกผู้ว่าฯ’ คืนประชาธิปไตยสู่ท้องถิ่น
เลือกตั้งผู้ว่าฯ ทั่วประเทศเป็นไปได้จริงไหม? 101 คุยกับ สันติสุข กาญจนประกร และ รศ.ดร.โอฬาร ถิ่นบางเตียว ว่าด้วยเรื่องเลือกตั้งผู้ว่าฯ ทุกจังหวัดและการกระจายอำนาจ
