fbpx

Life & Culture

14 Nov 2022

ร้อนรักในรอยทราย : ความเป็นผู้หญิงสมัยใหม่กับเรื่องรักใคร่ในทะเลทราย

จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร วิเคราะห์ความนิยมของนวนิยายโรมานซ์ทะเลทราย หรือเรื่องราวความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นตะวันออกกลางซึ่งยังเป็นแนวที่ได้รับความนิยมในกลุ่มคนอ่านเป็นจำนวนมาก พร้อมกันกับบทบาททางเพศของตัวละครหญิงในเรื่อง กับฉากอีโรติกซึ่งเป็นหนึ่งในจุดขายของนวนิยายหลายเรื่อง

จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร

14 Nov 2022

Politics

10 Nov 2022

ความฝันเดือนตุลาของเยาวรุ่น ปี 2517 ในหนังสือสมานมิตร ฉบับศึก

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง ชวนมองความคิดของเยาวชนช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ผ่าน ‘สมานมิตร’ หนังสือประจำปีของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่งขณะนั้นมี สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นประธานนักเรียน

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง

10 Nov 2022

Life & Culture

8 Nov 2022

โลกโหดร้ายเกินไปหรือฉันอ่อนไหวเกินควร? : จากพ่อรวยสอนลูกถึงหนังสือฮีลใจ เมื่อหนังสือแห่งยุคสมัยคือการปลอบประโลม

ปรากฏการณ์หนังสือแนว ‘ให้กำลังใจ’ ขายดีสะท้อนอะไร เนื้อหาในหนังสือเหล่านี้บอกอะไร โลกแบบไหนที่พาเรามาถึงจุดนี้ และคนที่เติบโตมาในยุคแห่งความเปราะบางกำลังเดินไปทางไหน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

8 Nov 2022

Books

3 Nov 2022

แลไปข้างหลัง มองพลังการเปลี่ยนแปลงสังคม ผ่าน ‘แลไปข้างหน้า’

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงนวนิยาย ‘แลไปข้างหน้า’ ของศรีบูรพา ที่สะท้อนภาพสังคมไทยปลายสมัยรัชกาลที่ 7 และเมื่อเกิดการอภิวัฒน์ 2475 แต่ให้ข้อคิดเกี่ยวกับการเมืองปัจจุบันได้อย่างดี

กษิดิศ อนันทนาธร

3 Nov 2022

Life & Culture

26 Oct 2022

วิถีคนกล้า I Know Why the Caged Bird Sings

‘นรา’ รีวิวหนังสือ ‘ฉันรู้ว่าไยนกในกรงจึงขับขาน’ (I Know Why the Caged Bird Sings) อัตชีวประวัติโดยมายา แอนเจลู (มาร์เกอรีต แอนน์ จอห์นสัน) นักต่อสู้ด้านสิทธิพลเมืองคนสำคัญของอเมริกา

นรา

26 Oct 2022

Life & Culture

24 Oct 2022

ในวันที่ 17 ของทุกเดือน ไม่ปรากฏปี : แบบฝึกหัดของการเขียนสู่ทุ่งหญ้าของวรรณกรรม

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘ในวันที่ 17 ของทุกเดือนไม่ปรากฏปี’ หนังสือรวมความเรียง 13 ชิ้นจากนิสิตวิชา ‘ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว’ ของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สะท้อนสังคมแสนสิ้นหวังผ่านสายตาคนรุ่นใหม่ และนัยหนึ่งยังสะท้อนแวดวงวรรณกรรมไทยด้วย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

24 Oct 2022

Books

18 Oct 2022

‘ไกล กะลา’ ลดอัตตา สลายความคลั่งชาติ จากประสบการณ์ ‘เบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน’

ภูมิชาย คชมิตร เขียนถึงหนังสือ ‘ไกล กะลา’ ว่าด้วยประสบการณ์ชีวิตของเบเนดิกท์ แอนเดอร์สัน ที่พยายามก้าวพ้นจากกะลาแห่งความเป็นชาติ

ภูมิชาย คชมิตร

18 Oct 2022

Books

16 Oct 2022

ความน่าจะอ่าน 2022: ชีวิตต้องมีความหวัง วงการหนังสือก็เช่นกัน

ส่งท้ายความน่าจะอ่าน 2022 – โลกใบนี้น่ะยังไม่สิ้นความหวังหรอก! 101 สรุปประเด็นจากเสวนา ความน่าจะอ่าน 2022 Final Round

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

16 Oct 2022

Life & Culture

13 Oct 2022

สวัสดีค่ะคุณวัฒน์: จดหมายจากไอดาถึงวัฒน์ วรรลยางกูร

จดหมายจากไอดา อรุณวงศ์ บรรณาธิการคนสุดท้ายของวัฒน์ วรรลยางกูร บทพูดปิดในงานเสวนาความน่าจะอ่าน 2022 ว่าด้วย ‘ตัวละครนอกหนังสือต้องเนรเทศ’

ไอดา อรุณวงศ์

13 Oct 2022

Life & Culture

30 Sep 2022

อาหารกับความทรงจำและภูมิปัญญากับทุนนิยม ใน ‘รฦกรส’

‘รฦกรส’ นวนิยายลำดับล่าสุดของ พงศกร เมื่อตัวละครได้สำรวจความทรงจำอันเลือนลางของตัวเองผ่านอาหาร ท่ามกลางโลกทุนนิยมอันโหดร้ายที่พร้อมกลืนกินทุกสิ่งที่ขวางหน้า ด้วยทีท่าและน้ำเสียงการเล่าเรื่องที่แสนจะฟีลกู๊ดสุดๆ

อาทิตย์ ศรีจันทร์

30 Sep 2022

Life & Culture

29 Sep 2022

‘ผู้ชนะสิบทิศ’ วรรณกรรมหลังปฏิวัติ 2475 ที่ฉายความรุ่งโรจน์ของสามัญชนกับมรณกรรมของผู้ประพันธ์

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ผู้ชนะสิบทิศ’ นิยาย ‘ปลอมประวัติศาสตร์’ เล่มตำนานของยาขอบ เรื่องราวที่มีตัวเอกเป็นชาวพม่าอย่าง ‘จะเด็ด’ ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในช่วงตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ประชาชาติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

29 Sep 2022

Life & Culture

27 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] ข้อความนอกหนังสือ ‘ต้องเนรเทศ’

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เล่าบทสนทนาระหว่างเขาและ ‘วัฒน์ วรรลยางกูร’ ขณะกำลังเขียน ‘ต้องเนรเทศ’

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

27 Sep 2022

Books

26 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] ให้รักเป็นบทกวีชั่วชีวิต: จุดร่วม ‘ชีวิตห่วย’ แห่งยุคสมัย

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง ‘ให้รักเป็นบทกวีชั่วชีวิต’ ของสะอาด

วจนา วรรลยางกูร

26 Sep 2022
1 6 7 8 29

MOST READ

Life & Culture

26 Mar 2024

ฆ่าความไร้เดียงสา To Kill a Mockingbird (ผู้บริสุทธิ์)

‘นรา’ เขียนถึงนิยาย To Kill a Mockingbird หรือ ‘ผู้บริสุทธิ์’ ผลงานชิ้นเยี่ยมของฮาร์เปอร์ ลี ที่ได้รางวัลพูลิตเซอร์และดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ได้อย่างซาบซึ้งตรึงใจ

นรา

26 Mar 2024

Life & Culture

27 Mar 2024

ความทุกข์ของยุคสมัยใน ‘แมลงสาบในเมืองสลด’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘แมลงสาบในเมืองสลด’ งานวรรณกรรมของ อ้อมแก้ว กัลยาณพงศ์ ว่าด้วยชายคนหนึ่งที่กลายเป็นแมลงสาบ ซึ่งชวนให้นึกไปถึง The metamorphosis งานชิ้นเอกของ ฟรันซ์ คาฟคา ที่เล่าถึงชายที่กลายเป็นแมลงเหมือนกัน… หากแต่การกลายเป็นแมลงของทั้งสองเรื่องนั้นให้ความหมายแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะเมื่อพินิจจากบรรยากาศของยุคสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

27 Mar 2024

Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save