fbpx

Life & Culture

25 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] สงครามของผู้หญิง-น้ำตาของผู้ชาย ใน ‘อ่อนโยนหนักหนาคือราตรี’

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึง ‘อ่อนโยนหนักหนาคือราตรี’ ของภาณุ ตรัยเวช

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

25 Sep 2022

ความน่าจะอ่าน

24 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] เล่นแร่แปลภาพ กับการมองประวัติศาสตร์สยามมุมใหม่

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — อรรถ บุนนาค เขียนถึง ‘เล่นแร่แปลภาพ ประวัติศาสตร์สยามจากเบื้องหลังภาพถ่าย’ ของนักรบ มูลมานัส

อรรถ บุนนาค

24 Sep 2022

Life & Culture

23 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] หยัดยืน และการยืนหยัดต่ออำนาจรัฐด้วยถ้อยคำ

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — คาลิล พิศสุวรรณ เขียนถึง ‘หยัดยืน’ ผลงานของมาร์โค บัลซาโน

คาลิล พิศสุวรรณ

23 Sep 2022

ความน่าจะอ่าน

22 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] ปรัชญาและอนาธิปไตย ใน บุรุษผู้เป็นวันพฤหัสบดี: ฝันร้าย

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — กิตติพล สรัคคานนท์ เขียนถึง ‘บุรุษผู้เป็นวันพฤหัสบดี: ฝันร้าย’ โดยจี.เค. เชสเตอร์ตัน

กิตติพล สรัคคานนท์

22 Sep 2022

ความน่าจะอ่าน

21 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] เผด็จการความคู่ควร : เมื่อ ‘โอกาสที่เท่าเทียม’ อาจบ่อนทำลายสังคม

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึง ‘เผด็จการความคู่ควร’ (The Tyranny of Merit) ของไมเคิล แซนเดล

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

21 Sep 2022

ความน่าจะอ่าน

20 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] แปดขุนเขา : พ่อ ลูกชาย และการเดินทางไปเติบโตยังแห่งหนอื่น

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ของความน่าจะอ่าน 2022 — พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึง ‘แปดขุนเขา’ โดย เปาโล คนเญตติ

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Sep 2022

Life & Culture

13 Sep 2022

‘สี่แผ่นดิน’ กับการสร้างพื้นที่แบบอาณานิคม

ชุติเดช เมธีชุติกุล ชวนมองนวนิยาย ‘สี่แผ่นดิน’ ผ่านมุมมองหลังอาณานิคมนิยม ซึ่งชวนพิจารณาถึงการจัดแบ่งและสร้างพื้นที่ อันสะท้อนวิธีคิดแบบเจ้าอาณานิคมของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช

ชุติเดช เมธีชุติกุล

13 Sep 2022

Life & Culture

9 Sep 2022

ความน่าจะอ่าน 2022 : โลกใบนี้ยังต้องการ ‘นักอ่าน’ อยู่เสมอ

ปีนี้เรายังไม่สิ้นความหวัง! อ่านบทบรรณาธิการ ‘ความน่าจะอ่าน 2022 : โลกใบนี้น่ะยังไม่สิ้นความหวังหรอก’ กับการคัดเลือกหนังสือกว่า 100 เล่ม จากคนในวงการหนังสือกว่า 50 ชีวิต

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

9 Sep 2022

Life & Culture

31 Aug 2022

พื้นที่และความว่างใน ‘เกดในเคิร์มแลนด์’

‘เกดในเคิร์มแลนด์’ นวนิยายขนาดสั้นของ วิภาส ศรีทอง ว่าด้วยการเหลื่อมทับกันของพื้นที่จริงและพื้นที่เสมือนในเกม อันเป็นประเด็นหลักที่ อาทิตย์ ศรีจันทร์ มองเห็นในนวนิยายเรื่องนี้

อาทิตย์ ศรีจันทร์

31 Aug 2022

Life & Culture

23 Aug 2022

เรื่องเล่าของสาวรับใช้ Girl with a Pearl Earring

‘นรา’ เขียนถึงนวนิยาย Girl with a Pearl Earring หรือสาวใส่ต่างหูมุก ของเทรซี เชวาเลียร์ ที่เล่าเรื่องเบื้องหลังภาพวาดของศิลปินชื่อดัง เฟอร์เมียร์

นรา

23 Aug 2022

Life & Culture

22 Aug 2022

ไทยซบพม่า : แหวกหัวใจคู่พระนางสังเวยชาตินิยม ใน ‘เลือดสุพรรณ’ ละครเพลงยุคปฏิวัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘เลือดสุพรรณ’ บทละครเวทีของหลวงวิจิตรวาทการ บทประพันธ์ที่ไม่ได้ทำให้พม่ากับไทยเป็นศัตรูคู่อาฆาตแบบขาว-ดำอย่างที่เราคุ้นชิน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

22 Aug 2022

Life & Culture

1 Aug 2022

ตัวละคร และความเปราะบางอันเหลือทนใน “อาจไม่เหมาะหากเปราะบาง”

‘อาจไม่เหมาะหากเปราะบาง’คืองานเขียนลำดับล่าสุดของ จิดานันท์ เหลืองเพียรสมุท นำเสนอภาวะแหว่งวิ่น ระเนระนาดทางภายในของตัวละคร โดย อาทิตย์ ศรีจันทร์ ตั้งข้อสังเกตว่ารวมเรื่องสั้นเล่มนี้นั้นไม่ได้มุ่งเล่าเรื่องราวผ่านโครงเรื่อง หากแต่เป็นการมุ่งสำรวจตัวละครอันร้าวรานหลากหลายใบหน้า

อาทิตย์ ศรีจันทร์

1 Aug 2022

Life & Culture

26 Jul 2022

อาชญากรรมและการไถ่บาป Atonement (ตราฝังตรึง)

‘นรา’ เขียนถึง Atonement (ตราฝังตรึง) นวนิยายของ เอียน แม็กอิวัน เรื่องราวโศกนาฏกรรมจากความเข้าใจผิด ความพยายามไถ่บาป ซึ่งเคยถูกดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ชื่อดังมาแล้วในปี 2007

นรา

26 Jul 2022

Life & Culture

25 Jul 2022

‘ปริศนา-บ้านทรายทอง’ มายาภาพความก้าวหน้าของผู้หญิงไทย และการครองอำนาจนำของฝ่ายอนุรักษนิยมยุคหลังสงคราม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘บ้านทรายทอง’ และ ‘ปริศนา’ นิยายที่ออกมาในช่วงใกล้เคียงกันเมื่อปี 2493-2494 ที่นางเอกของทั้งสองเรื่องเป็นภาพตัวแทนความเป็นหญิงที่ก้าวหน้าอย่างยิ่งของยุคสมัย แต่ลึกลงไปใต้ภาพความทันสมัยนี้ ยังมีบริบทแวดล้อมที่วิเคราะห์ได้อีกหลายแง่มุม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

25 Jul 2022

Life & Culture

10 Jul 2022

‘#หลงยุคหลุดสมัย’ ว่าด้วยความใหม่ที่ไม่ได้แปลว่าดี แปลกก็ไม่ได้หมายถึงสร้างสรรค์

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงนิยาย ‘#หลงยุคหลุดสมัย’ ของนักเขียนลึกลับ วัน รมณีย์ หนังสือรวมเรื่องสั้นสามเรื่องที่เล่าถึงความผิดที่ผิดเวลาของผู้คนและโลกที่ดูจะรุดก้าวไปเรื่อยๆ

อาทิตย์ ศรีจันทร์

10 Jul 2022
1 7 8 9 29

MOST READ

Life & Culture

26 Mar 2024

ฆ่าความไร้เดียงสา To Kill a Mockingbird (ผู้บริสุทธิ์)

‘นรา’ เขียนถึงนิยาย To Kill a Mockingbird หรือ ‘ผู้บริสุทธิ์’ ผลงานชิ้นเยี่ยมของฮาร์เปอร์ ลี ที่ได้รางวัลพูลิตเซอร์และดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ได้อย่างซาบซึ้งตรึงใจ

นรา

26 Mar 2024

Life & Culture

27 Mar 2024

ความทุกข์ของยุคสมัยใน ‘แมลงสาบในเมืองสลด’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘แมลงสาบในเมืองสลด’ งานวรรณกรรมของ อ้อมแก้ว กัลยาณพงศ์ ว่าด้วยชายคนหนึ่งที่กลายเป็นแมลงสาบ ซึ่งชวนให้นึกไปถึง The metamorphosis งานชิ้นเอกของ ฟรันซ์ คาฟคา ที่เล่าถึงชายที่กลายเป็นแมลงเหมือนกัน… หากแต่การกลายเป็นแมลงของทั้งสองเรื่องนั้นให้ความหมายแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะเมื่อพินิจจากบรรยากาศของยุคสมัย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

27 Mar 2024

Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save