fbpx

Social Issues

12 Jan 2022

จดหมายจากอาจารย์มหา’ลัยชายขอบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนเปิดจดหมายจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเล็กที่เขียนมาทักทาย พร้อมบอกเล่าความในใจถึงสภาพการทำงานที่ไม่เอื้อต่อการเติบโตทางวิชาการหรือกระทั่งการจะทำงานสอนได้เต็มที่

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Jan 2022

Politics

25 Nov 2021

มหาวิทยาลัยในเงามืด

ท่ามกลางการคุกคามต่อเสรีภาพในการแสดงออกและเสรีภาพทางวิชาการของคณาจารย์และนักศึกษา สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนตั้งคำถามถึงบทบาทของมหาวิทยาลัย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

25 Nov 2021

World

22 Nov 2021

ว่าด้วยความร้ายในโลกวิชาการ

คอลัมน์ ‘ช่วยด้วยเพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย’ ตอนใหม่ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง ออเนอร์ เพื่อนฝ่ายซ้ายผู้โดนวาจาเผ็ดร้อนร้ายกาจจากนักวิชาการในดวงใจทำร้ายเสียเปล่าๆ หลังจากเขียนบทวิจารณ์หนังสือส่งวารสารด้านปรัชญาการเมืองชื่อดัง

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

22 Nov 2021

World

19 Nov 2021

มหา’ลัยมีไว้ทำไม: เสรีภาพทางวิชาการโลก รอดได้อย่างไรในห้วงวิกฤต

เสรีภาพทางวิชาการดำรงอยู่ได้อย่างไรในห้วงเวลาที่เช่นนี้? 101 ชวนย้อนตั้งคำถามว่าอะไรคือความหวัง ในวันที่หลักเสรีภาพวิชาการทั่วโลกกำลังถูกท้าย

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Nov 2021

Social Issues

24 Aug 2021

ทำไมอาจารย์มหาวิทยาลัยกลายเป็นพวก ‘อิกนอร์’

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงเหตุที่อาจารย์มหาวิทยาลัยจำนวนมากกลายเป็นพวก ‘อิกนอร์’ (ignorant) ทั้งที่อยู่ในบทบาทที่สังคมคาดหมายว่าจะตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ได้มากกว่าอาชีพอื่น

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

24 Aug 2021

Education

28 Sep 2020

เมืองมหาวิทยาลัย

คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ เดือนนี้ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ ชวนมองความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและมหาวิทยาลัยท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง และทางออกในการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อให้เมืองและมหาวิทยาลัยเติบโตเคียงคู่กันไปได้อย่างยั่งยืน

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

28 Sep 2020

Education

13 Feb 2020

บทบาทมหาวิทยาลัยในโลกที่อาจไม่ต้องมีมหาวิทยาลัย

สันติธาร เสถียรไทย เขียนถึง มหาวิทยาลัย 5.0 กับคุณสมบัติ 5 ข้อที่มหาวิทยาลัยควรมี ในโลกอนาคตที่การเรียนรู้เกิดขึ้นทุกที่นอกรั้วมหาวิทยาลัย

สันติธาร เสถียรไทย

13 Feb 2020

Thai Politics

12 Feb 2020

ฉันไม่อาจรักมหาวิทยาลัย ถ้ามหาวิทยาลัยไม่หวงแหนและปกป้องเสรีภาพ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล มองบทบาทที่ควรจะเป็นของมหาวิทยาลัย ซึ่งไม่ใช่การรักษา ‘ความเป็นกลาง’ แต่ต้องรักษาการเป็นพื้นที่แห่งเสรีภาพทางปัญญา

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Feb 2020

Education

10 Feb 2020

‘สื่อเกิดขึ้นมาทำไม’ เมื่อคำถามเก่าๆ คือทางออกของสื่อยุคใหม่ กับ พรรษาสิริ กุหลาบ

#ต้องรอด ตอนแรก ว่าด้วย วารสารศาสตร์กับความท้าทายของสื่อยุคปัจจุบัน และบทบาทของนักวารสารศาสตร์ยุคใหม่ ที่ต้องมีทั้งทักษะ ทัศนคติ และความเข้าใจในบทบาทของคนสื่อ

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

10 Feb 2020

Education

13 Jan 2020

มหาวิทยาลัย 2020 – เรียนรู้ไร้พรมแดน

สันติธาร เสถียรไทย เขียนถึงการเรียนรู้ในยุคใหม่ โดยเฉพาะการปรับตัวของมหาวิทยาลัยและองค์กร ตั้งแต่การสลายเส้นแบ่งของสาขาวิชา เส้นแบ่งของนักเรียนและคนทำงาน ไปจนถึงการทำให้การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา

สันติธาร เสถียรไทย

13 Jan 2020

Health

20 Dec 2019

ใจของเราก็เจ็บป่วยเป็น : สุขภาพจิตและความคิดฆ่าตัวตายของนักเรียนนักศึกษาไทย

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาสำรวจสถานการณ์สุขภาพจิตของวัยรุ่น ปัญหาสภาพแวดล้อม ความเข้าใจของผู้ใหญ่ ไปจนถึงข้อจำกัดในการรับการรักษา ผ่านคำบอกแล้วของอาจารย์ นักจิตวิทยาในสถานศึกษา และตัวแทนเด็กและเยาวชน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

20 Dec 2019

Film & Music

30 Jan 2019

ความระทมเหลือทนของคนสอนภาพยนตร์ศึกษา

คันฉัตร รังษีกาญจน์ส่อง เขียนถึงความทุกข์ของอาจารย์สอนภาพยนตร์ศึกษา ที่นอกจากจะต้องเถียงกับแท็กซี่แล้ว ยังมีปัญหาจุกจิกตามมาในห้องเรียน เช่น ห้องฉายหนังแสงเข้า นักศึกษาไม่สนใจ ฯลฯ คอลัมน์ใหม่อ่านสนุก “ขอต้อนรับเข้าสู่ช่วง ‘ต่อว่า’ จ้าาา” …เขาจะมาบ่นเรื่องราวรอบตัวเป็นประจำทุกเดือน เริ่มจากเรื่องใกล้ตัวอย่างความทุกข์ในฐานะอาจารย์สอนภาพยนตร์ศึกษา

คันฉัตร รังษีกาญจน์ส่อง

30 Jan 2019

Interviews

12 Nov 2018

ครูของนักเปลี่ยนแปลงการศึกษา : รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี

คุยกับ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการสร้าง ‘นักเปลี่ยนแปลงการศึกษา’ พร้อมวิพากษ์ระบบการศึกษาไทย จากสายตาของคนที่คลุกคลีในแวดวงการศึกษามาค่อนชีวิต

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

12 Nov 2018

Media

17 Jul 2018

101 One-On-One Ep38 “มหาวิทยาลัยอนาคต” กับ พิภพ อุดร

:: LIVE :: “มหาวิทยาลัยอนาคต” – พิภพ อุดร คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Business School) สนทนาเรื่องนวัตกรรมการศึกษาใหม่ในรั้วมหาวิทยาลัยไทย เพื่อสร้างคนรุ่นใหม่ที่พร้อมรับมือกับสารพัดความท้าทายในยุคดิจิทัล ทำอย่างไรให้มหาวิทยาลัยยังไม่ตาย แต่ยังมีคุณค่าความหมายในโลกแห่งอนาคต

วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม 2561 เวลาสองทุ่มตรง ทาง The101.world ดำเนินรายการโดย ธร ปีติดล

101 One-on-One

17 Jul 2018

Social Issues

27 Mar 2018

ขอแสดงความ(ไม่)นับถือ : จดหมายรักถึงผู้บริหาร จากอาจารย์ปรัชญาคนหนึ่ง

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง เขียนจดหมายถึงคณบดีและอธิการบดีถึงก้าวแรกที่อาจนำไปสู่การถดถอยครั้งใหญ่ของศิลปศาสตร์ไทยในอนาคต

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

27 Mar 2018
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save