fbpx

Asia

25 May 2020

พลวัตความสัมพันธ์ เนปาล-จีน-อินเดีย เมื่อมังกรผงาดเหนือเทือกเขาหิมาลัย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงความสัมพันธ์ เนปาล-จีน-อินเดีย เมื่อจีนขยายอิทธิพลเข้ามาในเนปาล ขณะที่บทบาทของอินเดียค่อยๆ ลดลง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

หนีเสือปะจระเข้: สถานการณ์COVID-19 ของผู้ลี้ภัยชาวเวเนซุเอลาในโคลอมเบีย

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงปัญหาที่พรมแดนเวเนซุเอลา-โคลอมเบีย ที่ผู้ลี้ภัยชาวเวเนซุเอลาเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุข และรัฐบาลเวเนซุเอลาเองก็ไม่พร้อมรับประชาชนของตัวเองกลับ

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

5 May 2020

Global Affairs

14 Apr 2020

รัฐวิเคราะห์ในการศึกษานโยบายต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีรัฐวิเคราะห์ในทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ จากข้อจำกัดของทฤษฎีแบบดั้งเดิม ไปจนถึงแว่นตาของนักวิชาการปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่เผยให้เห็นถึงความซับซ้อนที่ซ่อนอยู่ภายใต้อำนาจรัฐและกลไกอำนาจรัฐ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Apr 2020

Global Affairs

7 Apr 2020

COVID-19 และความมั่นคงระหว่างประเทศที่ถูกท้าทาย

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ ตั้งข้อสังเกตถึงผลกระทบด้านความมั่นคงและการเมืองระหว่างประเทศของวิกฤตการณ์ COVID-19 ที่กลายเป็นภัยคุกคามแบบใหม่

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ

7 Apr 2020

Global Affairs

30 Mar 2020

101 One-on-One ep.108 : “ภูมิรัฐศาสตร์โลกหลัง COVID-19”

สนทนาเรื่องภูมิรัฐศาสตร์โลก (World Geopolitics) ที่เปลี่ยนไปในยุค COVID-19 ที่โลกไม่มีวันเหมือนเดิมอีกต่อไป กับ ผศ.ดร.จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

101 One-on-One

30 Mar 2020

Issue of the Age

26 Mar 2020

COVID-19 : โรคพลิกโลก เมื่อสหรัฐฯ เกิดวิกฤต

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในสหรัฐฯ ที่พาโลกเข้าสู่วิกฤตหนักหนาสาหัส และอาจจะเป็นการพลิกโฉมระบบและระเบียบโลกในระยะยาว

อาร์ม ตั้งนิรันดร

26 Mar 2020

Global Affairs

25 Mar 2020

โคโรนาไวรัสและจุดจบของโลกาภิวัตน์?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนคิดถึงความเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน์เมื่อโคโรนาไวรัส ส่งผลต่อวิธีคิดแบบ ‘ชุมชนนิยม’ และเรียกร้องให้รัฐชาติกลับมามีบทบาทสำคัญยามคับขัน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

25 Mar 2020

Global Affairs

24 Mar 2020

ไวรัส COVID-19 กับระเบียบโลกใหม่?

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ที่ส่งผลกระทบทางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดระเบียบโลกใหม่ รวมถึงเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่จะพลิกโฉมการเมืองโลกอย่างรวดเร็วและรุนแรง

จิตติภัทร พูนขำ

24 Mar 2020

Global Affairs

16 Mar 2020

ย้อนทางอ่าน ทางอ่านย้อน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เสนอวิธี ‘อ่านย้อนรอย’ จากงาน Common Sense ของ โธมัส เพน เพื่อชวนคิดถึงพลวัตและกระบวนการทางประวัติศาสตร์ของ ‘ฝ่ายก้าวหน้า’ และปัญหาการเปลี่ยนผ่านสู่ระบอบใหม่

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Mar 2020

Media

17 Jan 2020

101 In Focus Ep.22 : 2019 what a world! แลโลกการเมืองและเทคโนโลยีสู่ทศวรรษใหม่

รายการ 101 in focus สัปดาห์นี้ ต้อนรับทศวรรษใหม่ 2020 ด้วยการย้อนมองโลกในปีที่ผ่านมา ผ่านผลงานในชุด 2019 WHAT A YEAR! ย้อนมองการเมืองระหว่างประเทศและเทรนด์โลกในปี 2019

กองบรรณาธิการ

17 Jan 2020

Global Affairs

24 Dec 2019

โลก 2019 : ก้าวต่อไปของ (ความไร้) ระเบียบโลกใหม่ บนสมรภูมิการแข่งขันของมหาอำนาจ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ย้อนมองโลก 2019 เพื่อสำรวจก้าวต่อไปของ (ความไร้) ระเบียบโลกใหม่ บนสมรภูมิการแข่งขันของมหาอำนาจ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

24 Dec 2019

Global Affairs

28 Nov 2019

30 ปีกำแพงเบอร์ลินล่มสลาย โลกเรียนรู้อะไร : สุรชาติ บำรุงสุข

สมคิด พุทธศรี ชวนสุรชาติ บำรุงสุข รำลึก 30 ปีการพังทลายของกำแพงเบอร์ลิน และถอดบทเรียน ‘สงครามเย็นในศตวรรษที่ 20’ เพื่อรับมือกับ ‘สงครามเย็นในศตวรรษที่ 21’

สมคิด พุทธศรี

28 Nov 2019

Global Affairs

17 Sep 2019

ความน่าเชื่อถือและชื่อเสียงในทะเลจีนใต้ : หมากสำคัญในเกมมหาอำนาจ จีน-สหรัฐฯ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของจีน-สหรัฐฯ เหนือทะเลจีนใต้ อันเป็นหนึ่งในหมากสำคัญของการช่วงชิงความเป็นมหาอำนาจโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

17 Sep 2019
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save