fbpx

World

5 Mar 2024

ญี่ปุ่นกับเงินซุกมุ้งใน LDP ที่กำลังเป็นกรณีอื้อฉาวใหม่ทางการเมือง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกรณี ‘เงินซุกมุ้ง’ ที่เป็นเรื่องอื้อฉาวระลอกใหม่ของพรรค LDP เพื่อเปิดไปสู่ ‘การเมืองเรื่องมุ้ง’ ในภาพใหญ่ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและมีบทบาทหน้าที่อะไรถึงได้กลายเป็นแบบแผนและสถาบันภายในพรรค LDP เรื่อยมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Mar 2024

World

5 Jan 2024

Soft Power ที่คุณฝันถึงและข้อคำนึงบางประการ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนไตร่ตรองถึงแนวคิด ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ (soft power) จากมุมมองทางรัฐศาสตร์โดยพิจารณาถึงที่มา บทบาท และการทำงานของซอฟต์พาวเวอร์ ตลอดจนทิ้งข้อคิดเห็นบางประการไว้ว่าเหตุใดควรระวังในการนำคำว่า ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ มาใช้ในการกำหนดยุทธศาสตร์และนโยบาย

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Jan 2024

World

24 Oct 2023

ไต้หวันกับการขยายแนวป้องกันตนเองของญี่ปุ่น

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนสำรวจและวิเคราะห์ท่าทีของญี่ปุ่นต่อการสู้รบและความขัดแย้งที่ปะทุขึ้นในหลายภูมิภาคทั่วโลก พิจารณาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ‘การป้องปราม’ ภัยคุกคามจีน ตลอดจนแนวคิด ‘การป้องกันตนเองร่วม’ ที่ทำให้ญี่ปุ่นขยายแนวตั้งรับครอบคลุมถึงเกาะไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

24 Oct 2023

Asia

23 Aug 2023

การเมืองเรื่องการปล่อยน้ำบำบัดกัมมันตรังสีฟุคุชิม่า

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงแผนระบายน้ำกัมมันตรังสีบำบัดแล้วของรัฐบาลญี่ปุ่นลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก ที่สั่นคลอนไปถึง ‘ความมั่นคงเชิงตัวตนและสถานะ’ การตัดสินใจนี้ส่งผลต่อจุดยืนและความชอบธรรมบนเวทีโลกของญี่ปุ่นอย่างไร

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

23 Aug 2023

World

29 Jun 2023

LGBTQ ในญี่ปุ่น: ส่องก้าวย่างด้านสิทธิจากมิติแรงกดดันระหว่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง การผ่าน ‘กฎหมายส่งเสริมความเข้าใจ’ กฎหมายว่าด้วยการสนับสนุนความเท่าเทียมทางเพศในญี่ปุ่น ซึ่งมีเนื้อหาที่กำกวม และออกมาในจังหวะที่ล่าช้า สะท้อนถึงการขับเคี่ยวและต่อรองที่ไม่ราบรื่นนักระหว่างหลักคุณค่าดั้งเดิมกับบรรทัดฐานใหม่ และแรงกดดันจากภายนอก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Jun 2023

World

27 Apr 2023

ญี่ปุ่น G7 กับการเป็นประเทศกลุ่มผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ญี่ปุ่นกับการเป็นเจ้าภาพการประชุม G7 ที่เป็นทั้งโอกาสในการผลักดันวาระสันติภาพเพื่อเตือนใจผู้นำโลกในฐานะเหยื่อนิวเคลียร์รายแรกและรายเดียวของโลก และเป็นทั้งแรงกดดันให้ญี่ปุ่นในฐานะมหาอำนาจสายพลเรือนมีพฤติกรรมตามมาตรฐานของมหาอำนาจ ที่ในเวลานี้ที่วาระโลกอยู่ที่สงครามรัสเซีย-ยูเครนและประเด็นความมั่นคง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Apr 2023

World

20 Feb 2023

แบ่งขั้ว ไม่แบ่งชิป: โตเกียวเลือกข้างระหว่างมหาอำนาจ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ยุทธศาสตร์สกัดกั้นไม่ให้จีนเข้าถึงเทคโนโลยีการผลิต ‘ชิป’ ขั้นสูงของญี่ปุ่น ซึ่งสะท้อนถึงแนวโน้มการเลือกข้างออกห่างจากจีนเด่นชัดขึ้น

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

20 Feb 2023

World

25 Nov 2022

คิดไปทางไหนโลกหมุนไปทางนั้น? จากยูเครน ไต้หวัน สู่เวทีประชุมผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์สถานการณ์ความตึงเครียดในการเมืองโลก ผ่านโลกทัศน์แบบ ‘คิดไปทางไหนทำให้ความจริงเป็นไปตามนั้น’ ของรัฐมหาอำนาจ และสัญญาณการคลายลงของโลกทัศน์ดังกล่าวหลังการประชุมสุดยอด 3 เวทีใหญ่ที่ผ่านมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

25 Nov 2022

World

26 Sep 2022

‘มรดกโลก’ อีกเวทีที่ญี่ปุ่น-เกาหลีใต้ไม่ลดราวาศอก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง การเมืองว่าด้วยความทรงจำทางประวัติศาสตร์ระหว่างญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ในกระบวนการเสนอชื่อขึ้นทะเบียน ‘มรดกโลก’ และ ‘ความทรงจำแห่งโลก’

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

26 Sep 2022

World

29 Jul 2022

เมื่อญี่ปุ่นนำเศรษฐกิจมาขบคิดคู่ความมั่นคง: Economic Security ในยุทธศาสตร์รัฐบาลคิชิดะ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ยุทธศาสตร์ ‘ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ’ ภายใต้รัฐบาลคิชิดะ ที่อาจหันญี่ปุ่นไปสู่เส้นทางที่การทหารกลายเป็นหลักใหญ่ของความมั่นคงมากขึ้นกว่าในอดีต

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Jul 2022

World

30 May 2022

เจ็บกี่ครั้งก็ยังไม่จบง่าย: เกาะเหนือที่ญี่ปุ่นอ้างกรรมสิทธิ์ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงของท่าทีญี่ปุ่นต่อรัสเซียที่สะท้อนผ่านกรณีข้อพิพาทดินแดนทางตอนเหนือกลางวิกฤตยูเครน จากที่มีท่าทีรอมชอม ยอมประสานผลประโยชน์กับรัสเซียเพื่อให้ดำเนินการเจรจาได้อย่างราบรื่น ไปสู่ท่าทีที่ ‘แน่วแน่’ สละความคืบหน้าในการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อร่วมจัดการวิกฤตและรักษาผลประโยชน์ของระเบียบโลกไว้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

30 May 2022

World

15 Mar 2022

โตเกียวเสียขวัญ เมื่อเสียงปืนสนั่นฟ้ายูเครน

เมื่อสงครามรัสเซีย-ยูเครน สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อทั่วโลก ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ระเบียบความมั่นคงบนกลไกการป้องปรามที่สั่นคลอนในเอเชียตะวันออก ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในระบบพันธมิตรระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ อันเป็นผลจากการรับประกันความมั่นคงและการตอบสนองที่ล้มเหลวของชาติพันธมิตรยุโรปและสหรัฐฯ ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

15 Mar 2022
1 2

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save