fbpx

World

17 Jul 2019

อ่านการเมืองญี่ปุ่น กับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล

101 ชวนอ่านการเมืองญี่ปุ่นกับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงของการเมืองภายใน และภูมิศาสตร์การเมืองโลก ญี่ปุ่นต้องเผชิญกับความท้าทายใหญ่ อันสมกับสถานะมหาอำนาจ ญี่ปุ่นมองการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวอย่างไร?

กองบรรณาธิการ

17 Jul 2019

Global Affairs

12 Jul 2019

ความยากในถ้อยคำ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงอิทธิพลและข้อจำกัดของ ‘คำ’ ซึ่งเราใช้นิยามสิ่งต่างๆ นานา เพราะคำหนึ่งคำใช่ว่าจะมีความหมายตายตัวเสมอไป เช่นเดียวกับที่คำหนึ่งคำไม่อาจใช้เป็นมาตรวัดความจริงใดๆ ได้่อย่างถาวร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

12 Jul 2019

Talk Programmes

14 Jun 2019

101 One-On-One Ep.74 “จับตาอาเซียน” กับ กิตติ ประเสริฐสุข

“จับตาอาเซียน” รับการประชุมสุดยอดอาเซียนในประเทศไทยเดือนนี้
ประชุมอาเซียนซัมมิทมีอะไรที่น่าจับตามอง การเมืองภายในไทยส่งผลกระทบต่อบทบาทไทยในฐานะประธานอาเซียนมากน้อยแค่ไหน และอะไรคือความท้าทายของอาเซียนในภูมิศาตร์การเมืองโลกปัจจุบัน
คุยกับ ดร.กิตติ ประเสริฐสุข คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าโครงการ ASEAN watch สกว.
ดำเนินรายการโดย จิรัฐิติ ขันติพะโล

101 One-on-One

14 Jun 2019

World

17 May 2019

ตอบปัญหาค้างใจ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ตั้งข้อสังเกตผ่านสถานการณ์จำลองการเจรจาระหว่างประเทศ เพื่อตอบคำถามว่า ระหว่าง “โครงสร้างทางสังคม” กับ “ผู้กระทำการ” ตัวแปรไหนใช้อธิบายโลกได้ดีกว่ากัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 May 2019

Global Affairs

29 Mar 2019

กฎหมายระหว่างประเทศ บนทางแพร่งแห่งอำนาจ 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ‘กฎหมายระหว่างประเทศ’ ผ่านแว่นตาของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งปรากฏให้เห็นความลักลั่น และกำหนดตัดสินไม่ได้ในหลายๆ มิติ

จิตติภัทร พูนขำ

29 Mar 2019

World

25 Feb 2019

Trump-Kim Summit 2.0: จากสิงคโปร์ถึงฮานอย

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงการประชุมกันระหว่างผู้นำสหรัฐ และเกาหลีเหนือ ที่กำลังจะเกิดขึ้นปลายเดือนกุมภาพันธ์นี้ ที่ประเทศเวียดนาม พร้อมวิเคราะห์แรงจูงใจและยุทธศาสตร์เบื้องหลังของฝ่ายต่างๆ ตั้งแต่สหรัฐ เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น รวมถึงอาเซียน

ปิติ ศรีแสงนาม

25 Feb 2019

World

1 Feb 2019

ภูมิรัฐศาสตร์ว่าด้วยหมู่เกาะคูริล : ความสัมพันธ์รัสเซีย-ญี่ปุ่น ข้ามไม่พ้น ‘มรดกตกทอด’ ของสงครามโลกครั้งที่ 2 

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงข้อพิพาทหมู่เกาะคูริล ระหว่างรัสเซียกับญี่ปุ่น ซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และปัจจุบันก็ยังไม่มีทีท่าว่าจะตกลงกันได้ เนื่องด้วย ‘ผลประโยชน์แห่งชาติ’ ที่ต่างกันของทั้งสองฝ่าย

จิตติภัทร พูนขำ

1 Feb 2019

Interviews

23 Nov 2018

อาเซียนกับความไม่เป็นประชาธิปไตย ‘ดุลยภาค ปรีชารัชช’ มองบทบาทไทย 2019

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช อาจารย์โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ถึงบทบาทไทยในฐานะประธานอาเซียนปี 2019 ขยายภาพความไม่เป็นประชาธิปไตยในอาเซียนที่แต่ละประเทศเข้ามาโอบอุ้มกันและกัน

วจนา วรรลยางกูร

23 Nov 2018

วิธีอ่าน

16 Nov 2018

อ่านการสอน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ‘สนทนา’ กับผู้ช่ำชองในการสอนวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพื่อวิพากษ์ความรู้ภายในสาขาวิชาและตรวจสอบอุดมการณ์ที่อำพรางตนเองมาอยู่ในรูปของความรู้

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Nov 2018

World

13 Apr 2018

ปัญหาผู้อพยพกับผลประโยชน์ของชาติ : บทเรียนจากอินโดนีเซียถึงไทย

พวงทอง ภวัครพันธุ์ ชวนคิดเรื่องปัญหาผู้อพยพ สิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม และผลประโยชน์ของชาติ ผ่านบทเรียนของอินโดนีเซียยุคหลังซูฮาร์โต

พวงทอง ภวัครพันธุ์

13 Apr 2018

Global Affairs

17 Nov 2017

อ่านหาเรื่อง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนทดลอง “อ่านหาเรื่อง” ไม่ใช่แบบตั้งใจมีเรื่องกับใคร แต่เป็นการอ่านหาเรื่องจากเอกสารชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ แล้วเก็บประเด็นไปคิดต่อ โดยใช้บันทึกการพบปะหารือเจรจาความเมืองในปี พ.ศ. 2504 ระหว่างประธานเหมา กับสองผู้นำลาว เป็นแบบฝึกหัด

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 Nov 2017

Global Affairs

28 Jul 2017

อ่านนอกกล่อง : ทำไม E.H. Carr จึงไม่ใช่นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแนวสภาพจริงนิยม(แบบที่เรามักเข้าใจ)?

จิตติภัทร พูนขำ ชวนอ่าน E.H. Carr ผู้ถูกขนานนามว่าเป็นเจ้าพ่อ “สภาพจริงนิยม” ในวงวิชาการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และผลงานคลาสสิก The Twenty Years’ Crisis, 1919-1939 ด้วยมุมมองใหม่แบบทฤษฎีวิพากษ์ แล้วคุณจะพบว่าเขาเป็นทั้ง realist, critical theorist และ historian แบบมิอาจปักป้ายจัดประเภทลงกล่องแบบสำเร็จรูปได้

จิตติภัทร พูนขำ

28 Jul 2017

Global Affairs

12 May 2017

วิธีอ่านสถานการณ์ 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดเคล็ดวิชา “การอ่านสถานการณ์ 101” สำหรับอ่านสถานการณ์การเมืองโลก ตั้งแต่ “อ่านการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์” จนถึง “อ่านลงไปในตัวสถานการณ์”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

12 May 2017
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save