fbpx

World

19 Jan 2022

World 2022 and Beyond: ‘แผนที่ใหม่’ ของเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกสองขั้วอำนาจ

ในวันที่โลกกำลังก้าวสู่จุดเปลี่ยนอีกครั้งในปี 2022 จิตติภัทร พูนขำ ฉายภาพความเปลี่ยนแปลงของ ‘แผนที่ใหม่’ ในเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกที่กำลังหวนคืนสู่ระบบสองขั้วอำนาจอีกครั้งและกำลังขยับขยายปริมณฑลการขับเคี่ยวไปสู่สนามเทคโนโลยี และสนามระบบคุณค่า มองความท้าทายจาก ‘การเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่’ ในมิติเชิงอำนาจ โลกทัศน์ โรคระบาด และพลังงานที่โลกจะต้องเผชิญ พร้อมทั้งมองยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยท่ามกลางกระแสลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Jan 2022

US

9 Nov 2020

ฉากทัศน์นโยบายต่างประเทศของไบเดน : เมื่ออเมริกาต้องนำโลก 

จิตติภัทร พูนขำ ชวนสำรวจแนวโน้มทิศทางและฉากทัศน์ของนโยบายต่างประเทศของ โจ ไบเดน ว่าจะมีหน้าตาและนัยต่อการเมืองโลกอย่างไร รวมถึงพิจารณาแนวโน้มของนโยบายต่างประเทศไบเดนในประเด็นเฉพาะสำคัญบางประเด็น

จิตติภัทร พูนขำ

9 Nov 2020

Global Affairs

26 May 2020

New Normal, Old Normal หรือ New Abnormal? การเมืองโลกบนขอบเหวของความปกติวิถีใหม่

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึง ‘New Normal’ ที่ดูจะกลายเป็น ‘แฟชั่น’ ใหม่ของการเมืองโลกยุค COVID-19 รวมถึงชี้ให้เห็นประเด็นปัญหาใหม่อย่างน้อย 4 ประการสำคัญที่ตามมาจากยุคสมัยแห่ง New Normal

จิตติภัทร พูนขำ

26 May 2020

Global Affairs

23 Apr 2020

Who’s WHO? การเมืองระหว่างประเทศขององค์การอนามัยโลกในห้วงยาม COVID-19

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงที่มา พัฒนาการ และข้อจำกัดเชิงโครงสร้างของระบบสุขอนามัยระหว่างประเทศ รวมถึงวิเคราะห์บทบาทขององค์การอนามัยโลก (WHO) ในการรับมือกับวิกฤตโรคระบาดต่างๆ ตั้งแต่วิกฤตโรค SARS ในปี 2003 จนกระทั่ง COVID-19 ในปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ

23 Apr 2020

Global Affairs

24 Mar 2020

ไวรัส COVID-19 กับระเบียบโลกใหม่?

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ที่ส่งผลกระทบทางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดระเบียบโลกใหม่ รวมถึงเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่จะพลิกโฉมการเมืองโลกอย่างรวดเร็วและรุนแรง

จิตติภัทร พูนขำ

24 Mar 2020

World

28 Feb 2020

รื้อ/สร้างอนุสาวรีย์รัสเซียในบอลติก : การช่วงชิงการเมืองแห่งความทรงจำ

จิตติภัทร พูนขำ เขียนเรื่องการช่วงชิงการเมืองแห่งความทรงจำ ผ่านทางการรื้อและสร้างอนุสาวรีย์รัสเซียในประเทศลัตเวีย ลิทัวเนีย และเอสโตเนีย

จิตติภัทร พูนขำ

28 Feb 2020

World

17 Jan 2020

รัสเซียยุค(หลัง)ปูติน? การปรับดุลอำนาจใหม่ กับความวิตกกังวลของชนชั้นนำ

จิตติภัทร พูนขำ ชวนตั้งคำถามถึงการประกาศลาออกของคณะรัฐมนตรีรัสเซีย และการประกาศแก้รัฐธรรมนูญโดยประธานาธิบดีปูติน ผ่านทางการพิจารณาปริศนา 3 ด้านสำคัญ พร้อมคาดการณ์ว่า นี่อาจเป็นการปรับตัวเพื่อเสริมสร้างและรักษาไว้ซึ่งอำนาจนำของระบอบปูติน

จิตติภัทร พูนขำ

17 Jan 2020

Global Affairs

29 Mar 2019

กฎหมายระหว่างประเทศ บนทางแพร่งแห่งอำนาจ 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ‘กฎหมายระหว่างประเทศ’ ผ่านแว่นตาของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งปรากฏให้เห็นความลักลั่น และกำหนดตัดสินไม่ได้ในหลายๆ มิติ

จิตติภัทร พูนขำ

29 Mar 2019

Global Affairs

1 Mar 2019

ผจญภัยสงคราม : วงศาวิทยาของสงครามในการเมืองโลก 

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงการเมืองเรื่อง ‘สงคราม’ ไล่เรียงวิวัฒนาการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งสงครามภายในประเทศและระหว่างประเทศ พร้อมตั้งข้อสังเกตถึงคำว่า ‘ภัยสงคราม’ ซึ่งถูกใช้ในฐานะเครื่องมือทางการเมืองมาโดยตลอด

จิตติภัทร พูนขำ

1 Mar 2019

World

1 Feb 2019

ภูมิรัฐศาสตร์ว่าด้วยหมู่เกาะคูริล : ความสัมพันธ์รัสเซีย-ญี่ปุ่น ข้ามไม่พ้น ‘มรดกตกทอด’ ของสงครามโลกครั้งที่ 2 

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงข้อพิพาทหมู่เกาะคูริล ระหว่างรัสเซียกับญี่ปุ่น ซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และปัจจุบันก็ยังไม่มีทีท่าว่าจะตกลงกันได้ เนื่องด้วย ‘ผลประโยชน์แห่งชาติ’ ที่ต่างกันของทั้งสองฝ่าย

จิตติภัทร พูนขำ

1 Feb 2019

Global Affairs

28 Dec 2018

ความท้าทายของการเมืองโลก 2019 : ก้าวข้ามวิกฤตท้าทายระเบียบเสรีนิยม

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจภาพของการเมืองโลกในปี 2018 และมองแนวโน้มทิศทางในปี 2019 ซึ่งชี้ว่าระเบียบโลกแบบเสรีนิยมกำลังเผชิญกับพลวัตการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายอย่างหนักหน่วง

จิตติภัทร พูนขำ

28 Dec 2018

World

30 Nov 2018

ระบอบปูตินเสื่อมอำนาจ?

จิตติภัทร พูนขำ มองสัญญาณการเสื่อมอำนาจของระบอบปูติน ที่ครองอำนาจมาเกือบสองทศวรรษ ซึ่งปรากฏผ่านผลโพลและการเลือกตั้งระดับภูมิภาคครั้งล่าสุด

จิตติภัทร พูนขำ

30 Nov 2018
1 2 3