fbpx

101 One-on-One

22 Apr 2020

เกาหลี-ไต้หวัน ในวิกฤต COVID-19: มาตรการรัดกุมภายใต้การจัดการแบบประชาธิปไตย

สนทนากับ ณัฐกานต์ อมาตยกุล และ นิติธร สุรบัณฑิตย์ ว่าด้วยมาตรการรับมือโควิด-19 ของเกาหลีและไต้หวัน การคัดกรองที่ครอบคลุม การใช้เทคโนโลยีรวบรวมและสื่อสารข้อมูล ภายใต้วิถีการจัดการแบบประชาธิปไตยที่โปร่งใส และเน้นการมีส่วนร่วม

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

22 Apr 2020

Global Affairs

22 Apr 2020

รุ่งหรือร่วง? เปรียบเทียบบทบาท 6 ผู้นำโลกจัดการปัญหาโควิด

ณัชชาภัทร อมรกุล ชวนเช็คประสิทธิภาพของผู้นำอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และเยอรมนีในการรับมือกับวิกฤต COVID-19

กองบรรณาธิการ

22 Apr 2020

Spotlights

20 Apr 2020

วิกฤตการณ์โคโรนา : ไวรัสทลายระบบโลก

เมื่อประชาธิปไตย โลกาภิวัตน์ เสรีนิยมใหม่ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ถูกท้าทายอย่างรุนแรงจากวิกฤตการณ์โคโรนา Marc Saxer ชวนค้นหาคำตอบแห่งยุคสมัย – อะไรคือหน้าต่างสู่อนาคตอันเปิดกว้าง และทำไมสังคมประชาธิปไตยคือคำตอบ

มาร์ค ศักซาร์

20 Apr 2020

Political Economy

20 Apr 2020

สเปนยุค COVID-19 และทางออกของวิกฤต กับ เนื้อแพร เล็กเฟื่องฟู และ ชานนทร์ เตชะสุนทรวัฒน์

101 ชวน เนื้อแพร เล็กเฟื่องฟู และ ชานนทร์ เตชะสุนทรวัฒน์ สำรวจสถานการณ์ COVID-19 ระบาดในสเปนและทางออกจากวิกฤต รวมทั้งพูดคุยถึงงานวิจัยล่าสุดเรื่องความเหลื่อมล้ำจากปิดเมือง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

20 Apr 2020

Trends

20 Apr 2020

เมืองหลังโรคระบาด

คอลัมน์ #เมืองกลายพันธุ์ ตอนใหม่ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ เขียนถึง เมืองหลังโรคระบาด อธิบาย ‘ความปกติใหม่’ ที่ต้องพิจารณาสภาพและโครงสร้างที่เป็นอยู่ก่อนเกิดโรคระบาด และต้องเป็นความปกติใหม่ที่ขยายภาพไปไกลกว่าวิถีชีวิตของชนชั้นกลาง

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

20 Apr 2020

Trends

17 Apr 2020

อีเวนต์และคอนเสิร์ตต้องปรับตัวอย่างไรในวันที่ไม่มีใครอยากออกมาจอยกัน

คอลัมน์ Third – Eye View สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill เขียนถึง Virtual Event การจัดเทศกาลออนไลน์ และการการออกแบบประสบการณ์ หัวใจหลักที่จะทำให้อีเวนต์รูปแบบใหม่ประสบความสำเร็จ

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

17 Apr 2020

Asia

16 Apr 2020

ผลกระทบที่ไม่มีทางเท่ากัน เมื่อการปิดเมืองกัดกินแรงงานนอกระบบอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชี้ให้เห็นถึงผลกระทบจากมาตรการล็อกดาวน์อินเดียที่ความเหลื่อมล้ำทำให้แรงงานนอกระบบและชนชั้นล่างเจ็บหนักกว่าคนกลุ่มอื่น

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Apr 2020

Issue of the Age

16 Apr 2020

โอลิมปิกแห่งโชคชะตา : จากฮิโรชิม่า ฟุคุชิม่า สู่ไวรัสโคโรนา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงความสำคัญและความหมายของโตเกียวโอลิมปิก 2020 ต่อญี่ปุ่น และทางแพร่งที่รัฐบาลต้องตัดสินใจในการเลื่อนจัดโอลิมปิกออกไป

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

16 Apr 2020

Global Affairs

14 Apr 2020

รัฐวิเคราะห์ในการศึกษานโยบายต่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีรัฐวิเคราะห์ในทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ จากข้อจำกัดของทฤษฎีแบบดั้งเดิม ไปจนถึงแว่นตาของนักวิชาการปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่เผยให้เห็นถึงความซับซ้อนที่ซ่อนอยู่ภายใต้อำนาจรัฐและกลไกอำนาจรัฐ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Apr 2020

Asia

14 Apr 2020

Itaewon Class: ห้องเรียนว่าด้วยความแปลกแยก อิสรภาพ และความพันทาง

ตามรอยพัคแซรอย จากซีรีส์ Itaewon Class ไปสำรวจ “อิแทวอน” ย่านที่เคยเป็นทั้งที่ตั้งฐานทัพของทหารสหรัฐฯ ย่านซื้อขายบริการทางเพศ สถานที่พบปะสังสรรค์ของ LGBT และย่านของชาวมุสลิม
จักรกริช สังขมณี ชวนย้อนทำความเข้าใจประวัติศาสตร์อิแทวอน ทั้งในเชิงภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจการเมือง และสังคมวัฒนธรรม

จักรกริช สังขมณี

14 Apr 2020

World

10 Apr 2020

คิวบากับนโยบายการทูตด้านสาธารณสุข

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงนโยบายการทูตด้านสาธารณสุขของคิวบา ที่ช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ในสายตาโลกและได้รับความช่วยเหลือกลับมาในรูปแบบต่างๆ

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

10 Apr 2020

China

9 Apr 2020

ธุรกิจจีนรับมือ COVID-19 อย่างไร?

ในช่วงวิกฤตเช่นนี้ ธุรกิจต้องปรับตัวอย่างไรถึงจะอยู่รอด ชวนถอดบทเรียนการปรับตัวของภาคธุรกิจจีนในช่วง COVID-19 โดย อาร์ม ตั้งนิรันดร

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Apr 2020

US

8 Apr 2020

COVID-19  ฝ่ายขวาสหรัฐฯ และโลกทัศน์แบบ Zombie Idea

ต่อศักดิ์ จินดาสุขศรี เขียนถึง แนวคิดแบบซอมบี้ (zombie idea) หรือ แนวคิดที่แม้จะถูกพิสูจน์ด้วยหลักฐานจำนวนมากว่าเป็นเรื่องไม่จริง แต่ก็ยังมีคนเชื่อ แนวคิดแบบซอมบี้อาจเป็นหนึ่งปัจจัยที่ทำให้นโยบายรับมือ COVID-19 ในอเมริกาล้มเหลว

กองบรรณาธิการ

8 Apr 2020

Global Affairs

7 Apr 2020

COVID-19 และความมั่นคงระหว่างประเทศที่ถูกท้าทาย

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ ตั้งข้อสังเกตถึงผลกระทบด้านความมั่นคงและการเมืองระหว่างประเทศของวิกฤตการณ์ COVID-19 ที่กลายเป็นภัยคุกคามแบบใหม่

ฟูอาดี้ พิศสุวรรณ

7 Apr 2020

Issue of the Age

3 Apr 2020

วิกฤตโควิด 19 – วิกฤตการเมืองอเมริกัน 20 – วิกฤตทุนนิยม 21

จากวิกฤตไวรัสในสหรัฐอเมริกา สู่วิกฤตระบบทุนนิยมในศตวรรษที่ 21 ชวนอ่านบทวิเคราะห์จาก ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

3 Apr 2020
1 59 60 61 90

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

Asean

30 Apr 2024

‘ลี เซียนลุง’ สู่ ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ : การสืบทอดอำนาจสู่ผู้นำรุ่น 4 ในยุคที่การรักษาอำนาจการเมืองสิงคโปร์ไม่ง่ายเหมือนเคย

101 วิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านอำนาจของสิงคโปร์สู่ผู้นำรุ่นที่ 4 ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ ในวันที่พรรค PAP ที่ผูกขาดอำนาจมานาน อาจรักษาอำนาจยากขึ้น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

30 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save