fbpx

Education

21 Mar 2017

จุดจบของมหาวิทยาลัย? MOOC กับความท้าทายใหม่ในโลกการศึกษา

ในยุค MOOC หรือ Massive Open Online Course มาแรงแซงทุกโค้ง โลกธุรกิจการศึกษาต้องปรับตัวอย่างไร นักเรียนออนไลน์เป็นใคร วิชาอะไรดี วิชาอะไรโดน แล้วมหาวิทยาลัยใกล้ตายหรือยัง!

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ อาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชวนคิดเรื่องความท้าทายใหม่ในโลกการเรียนรู้

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

21 Mar 2017

Global Affairs

17 Mar 2017

โลกเอียงขวา ประชานิยม และอนาคตประชาธิปไตย

จาก Brexit สู่ทรัมป์ ถึงเลอ เพน … กระแส “ขวาประชานิยม” กำลังครองโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชวนตั้งคำถามถึงการเมืองเรื่องซ้าย-ขวา และประชานิยม ค้นหาคำอธิบายสาเหตุของ “โลกหันขวา” ทั้งในมิติวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ และสำรวจสารพัดคำถามใหม่ที่ท้าทายโลกยุคเอียงขวา

โลกจะเดินต่ออย่างไรบนทางแพร่งแห่งอนาคตของเสรีนิยมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Mar 2017

China

17 Mar 2017

เคล็ดวิชารักษาอำนาจของรัฐบาลเผด็จการ

เผด็จการในโลกยุคโซเชียลมีเคล็ดวิชารักษาอำนาจอย่างไร? รัฐบาลอาจไม่ได้ตั้งหน้าตั้งตาไล่เซ็นเซอร์คนคิดต่าง แต่มีวิธีปั่นหัวคุณด้วยวิธีที่คาดไม่ถึง อาร์ม ตั้งนิรันดร อาจารย์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สนใจอ่าน-เขียน-เรียนเรื่องจีน เปิดงานวิจัยว่าด้วยวิธีรักษาอำนาจของรัฐบาลจีน แล้วแอบนำเทคนิคทางการเมืองของรัฐบาลเผด็จการมาเล่าสู่ให้รู้ทัน!

อาร์ม ตั้งนิรันดร

17 Mar 2017

Trends

14 Mar 2017

‘จุดตัด’ ในยุคเปลี่ยนผ่าน

ใครๆ ก็บอกว่า เราอยู่ในยุคที่ทุกอย่างกำลังเปลี่ยนผ่านไปอย่างรวดเร็ว แต่คำถามก็คือ มันมีอะไรเปลี่ยนผ่านบ้าง และเราจะ ‘เห็น’ สิ่งที่เปลี่ยนผ่านทั้งหลายแหล่เหล่านั้นได้อย่างไร เพราะเมื่อมันกำลังเปลี่ยนผ่าน เราย่อมมองหามันไม่ได้ง่ายๆ คำตอบต่อคำถามนี้ก็คือ เราต้องพยายามมองหา ‘จุดตัด’ ของสภาวะต่างๆ ที่จะโผล่ขึ้นมาทำให้เราเห็นถึง ‘สัญญาณ’ การเปลี่ยนผ่านบางอย่าง สมคิด พุทธศรี จะพาเราไปค้นหา ‘จุดตัด’ ที่ว่านั้น

สมคิด พุทธศรี

14 Mar 2017

Global Affairs

7 Mar 2017

โลกที่ไม่มีไฟนอลเวอร์ชั่น : เมื่อประวัติศาสตร์ยังไม่จบ

ตลอดประวัติศาสตร์ มนุษย์พยายามเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ (ตัวเองเชื่อว่า) ดีกว่าอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องส่วนตัว หรือสังคม มาถึงวันนี้ เรากำลังต้องเปลี่ยนอีกครั้ง

สมคิด พุทธศรี

7 Mar 2017

Global Affairs

6 Mar 2017

เปิดกว้าง หรือ ปิดกั้น? ปัญหา ‘ผู้ลี้ภัย’ ในวันที่โลกหมุนวนขวา

นับแต่วันที่ทรัมป์เข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการ สถานการณ์ของ ‘ผู้ลี้ภัย’ ก็ตกอยู่ในภาวะที่ไม่แน่นอน และอาจเป็นภาพสะท้อนที่ชัดเจนของความหวาดกลัวชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวมุสลิม

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

6 Mar 2017

World

6 Mar 2017

ดาบในมือผู้นำ

ใครเคยเยี่ยมชม National Museum of American History หนึ่งในพิพิธภัณฑ์สังกัด Smithsonian Institution กลางกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. น่าจะเคยเห็นรูปปั้นจอร์จ วอชิงตันตั้งตระหง่านอยู่บนชั้นสอง นอกจากความกล้าหาญชาญชัยของศิลปินในการตีความวอชิงตันแบบแหวกแนวไม่เหมือนใครแล้ว องค์ประกอบบางอย่างของรูปปั้นก็น่าสนใจไม่แพ้กัน !

ปกป้อง จันวิทย์

6 Mar 2017

US

6 Mar 2017

ทรัมป์ 101: ที่มาและที่ไปของสหรัฐอเมริกายุคประธานาธิบดีทรัมป์

โดนัลด์ ทรัมป์ ทำงานในตำแหน่งประธานาธิบดียังไม่ทันครบสองเดือน สหรัฐอเมริกาก็เปลี่ยนไปจนแทบจำไม่ได้ ทั้งโลกหายใจไม่คล่องคอ รอดูว่าทรัมป์จะปล่อยหมัดเด็ดที่คาดไม่ถึงอะไรออกมาอีก The101.world ชวนย้อนอ่านบทสัมภาษณ์เรื่อง ‘ทรัมป์ 101’ ระหว่าง ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ กับ ปกป้อง จันวิทย์ เพื่อหาคำตอบว่าเราต้องเตรียมรับมือกับโลกใหม่แบบไหนในยุค 2017 ทรัมป์ครองเมือง

ปกป้อง จันวิทย์

6 Mar 2017

Global Affairs

3 Mar 2017

อะไรฆ่า คิม จอง นัม พี่ชายต่างมารดาของผู้นำเผด็จการแห่งเกาหลีเหนือ

13 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา คิม จอง นัม พี่ชายต่างมารดา ของ คิม จอง อึน ผู้นำเกาหลีเหนือ ถูกลอบสังหาร การตายที่เป็นปริศนาของ คิม จอง นัม สร้างความงงงวยให้แก่เจ้าหน้าที่อย่างยิ่ง เพราะไม่สามารถชี้ได้ว่าเหตุจูงใจในการฆาตกรรมคืออะไรกันแน่ ถึงจะบอกได้ยากว่า ‘สาเหตุ’ ที่ทำให้ คิม จอง นัม ต้องตาย คืออะไร แต่ถ้าถามว่าแล้ว ‘อะไร’ เป็นตัวการสังหารคิมจองนัม อันนี้ตอบง่ายกว่า

วชิรวิทย์ คงคาลัย

3 Mar 2017

World

28 Feb 2017

เข้าคูหากินเค้กเลือกตั้ง – ประชาธิปไตยที่ฝืดคอ

คุณอาจเคยกินเค้กมานับไม่ถ้วน ไม่ว่าจะเค้กวันเกิด เค้กงานแต่ง เค้กปีใหม่ วันครบรอบวาระต่างๆ และเค้กอีกสารพัดก้อนที่มาพร้อมการเฉลิมฉลอง แล้วเคยลอง “เค้กวันเลือกตั้ง” หรือยัง?

ภัทชา ด้วงกลัด

28 Feb 2017

World

20 Feb 2017

เราจะวัดความเป็นชาติเดียวกันจากตรงไหน ?

เมื่อกระแสชาตินิยมกำลังกลายเป็นเทรนด์สำคัญในยุคนี้ การเป็นคนชาติเดียวกันกลายเป็นเครื่องมือทางการเมืองที่หลายประเทศหยิบมาใช้ มาดูว่าแต่ละประเทศมองความเป็นชาติเดียวกันจากหลักเกณฑ์ใด

วิโรจน์ สุขพิศาล

20 Feb 2017
1 89 90

MOST READ

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

Asean

1 May 2024

‘ลี เซียนลุง’ สู่ ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ : การสืบทอดอำนาจสู่ผู้นำรุ่น 4 ในยุคที่การรักษาอำนาจการเมืองสิงคโปร์ไม่ง่ายเหมือนเคย

101 วิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านอำนาจของสิงคโปร์สู่ผู้นำรุ่นที่ 4 ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ ในวันที่พรรค PAP ที่ผูกขาดอำนาจมานาน อาจรักษาอำนาจยากขึ้น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 May 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save