fbpx

Thai Politics

17 Feb 2021

‘ไม่ทำให้ตระหนกและต้องนึกถึงใจคน’ คุยเรื่องการสื่อสารความเสี่ยง กับ วรรณรัตน์ รัตนวรางค์

ภาวิณี คงฤทธิ์ คุยกับ รศ.ดร.วรรณรัตน์ รัตนวรางค์ ถึงการสื่อสารความเสี่ยง ในภาวะโรคระบาดภาครัฐควรมีการสื่อสารอย่างไรเพื่อให้ผู้คนยังประคองใจไปได้จนถึงวันที่วิกฤตจบลง

ภาวิณี คงฤทธิ์

17 Feb 2021

Economic Focus

9 Feb 2021

‘เศรษฐกิจการเมืองเรื่องวัคซีน’ กับ สมชัย จิตสุชน

101 ชวน สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัยด้านการพัฒนาเศรษฐกิจส่วนรวมและการกระจายรายได้ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) และคณะกรรมการบริหารสถาบันวัคซีนแห่งชาติ สนทนาทั้งเรื่องการเยียวยาเศรษฐกิจไทยและเศรษฐศาสตร์การเมืองของวัคซีน

กองบรรณาธิการ

9 Feb 2021

Law

9 Feb 2021

มองหลายมุมกฎหมายทำแท้งฉบับใหม่

ปกป้อง ศรีสนิท ชวนมองประเด็นที่น่าสนใจในกฎหมายฉบับใหม่ที่รับรอง ‘การทำแท้งตามคำขอของผู้หญิง’ ขึ้นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประเทศไทย

ปกป้อง ศรีสนิท

9 Feb 2021

Public Policy

1 Feb 2021

กว่า 20 ปี ระบบหลักประกันสุขภาพไทย เปลี่ยนความกังวลให้มั่นคงและมั่นใจ

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ รำลึกถึง ‘หมอสงวน’ ด้วยความหลังวันนับหนึ่งระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไทย

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

1 Feb 2021

Issue of the Age

25 Jan 2021

โรคระบาดคงอยู่กับเราไปเรื่อยๆ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ชวนขบคิดว่า เพราะเหตุใด คนทั่วโลกยังมีแนวโน้มที่จะต้องใช้ชีวิตอยู่กับโรคระบาดไปอีกนาน ต่อให้ COVID-19 จะสิ้นสุดการแพร่ระบาดลงไปวันใดวันหนึ่งก็ตาม

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

25 Jan 2021

Social Problems

5 Jan 2021

รำลึก นพ.มงคล ณ สงขลา ย้อนมองนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กับ นิมิตร์ เทียนอุดม

101 พูดคุยกับนิมิตร์ เทียนอุดม ตัวแทนกลุ่มคนรักหลักประกันสุขภาพ ที่พาเราไปร่วมย้อนมองตัวตนของหมอมงคล และรำลึกถึงมรดกที่หมอมงคลได้มีส่วนร่วมสร้าง โดยเฉพาะนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พร้อมวิเคราะห์ถึงแนวทางการใช้นโยบายนี้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

5 Jan 2021

Health

16 Dec 2020

หมอมงคล ณ สงขลา – ผู้สร้างสรรค์ระบบสุขภาพไทยโดยไม่ต้องรอเป็นใหญ่

รู้จักตัวตนและผลงานของคุณหมอมงคล ณ สงขลา อดีตปลัดฯ และ รมว.สาธารณสุข ผู้แปลงนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสู่การปฏิบัติ ผ่านสายตา นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

16 Dec 2020

Happy Family

16 Oct 2020

วัยรุ่นเจ็บแล้วจำ: สำรวจบาดแผลทางใจในระหว่างทางเติบโต

101 สนทนากับวัยรุ่นจำนวนหนึ่งถึงบาดแผลทางใจที่พวกเขาเผชิญและยังจดจำ พร้อมมุมมองจาก นรพันธ์ ทองเชื่อม นักจิตวิทยาเด็กและวัยรุ่นจากมีรักคลินิก ที่จะช่วยฉายภาพปัญหาอันซับซ้อนของวัยรุ่น เรื่องอะไรที่พวกเขากังวลใจและอาจส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต แล้วคนรอบข้าง ไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครอง ญาติ หรือแม้กระทั่งครู จะสามารถโอบอุ้มพวกเขาไว้ได้อย่างไร

กองบรรณาธิการ

16 Oct 2020

หลักประกันสุขภาพที่รัก

8 Oct 2020

ดาวน์โหลดหนังสือ ‘หลักประกันสุขภาพที่รัก’ – นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

ดาวน์โหลดหนังสือ ‘หลักประกันสุขภาพที่รัก’ ของนายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ว่าด้วยชีวิตจริงของผู้ป่วย หมอ ระบบสาธารณสุข รัฐและสังคมไทย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

8 Oct 2020

Social Problems

15 Sep 2020

“การบำบัดเหล้าคือการจัดความสัมพันธ์” คุยกับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

101 ชวนอ่านบทสนทนากับนพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ว่าด้วยโลกของแพทย์และมานุษยวิทยา รวมถึงระบบบำบัดสุราในปัจจุบันที่คุณหมอโกมาตรนิยามว่า เราอาจจะลองเพิ่ม ‘การจัดความสัมพันธ์’ และ ‘การสื่อความปรารถนาดี’ เข้าไป

กองบรรณาธิการ

15 Sep 2020

Health

3 Aug 2020

เลือกอย่างไรในภาวะวิกฤต? เมื่อหมอต้องเลือกชีวิตคน

โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) นำเสนอหลักการและเครื่องมือในการตัดสินใจเมื่อแพทย์ต้องตัดสินใจว่าจะรักษาใครหากเครื่องมือและทรัพยากรไม่เพียงพอ

กองบรรณาธิการ

3 Aug 2020

TREND RIDER

1 Jul 2020

Cancel Cancer: ทำอย่างไรมะเร็งร้ายจึงจะหายไป

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของวิทยาการทางการแพทย์ในการรักษามะเร็ง จากยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน

โตมร ศุขปรีชา

1 Jul 2020

Issue of the Age

15 May 2020

มองความจริงของสื่อ ผ่านข่าวลวงในยุคโควิด กับ วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง

สรุปความจากรายการ 101 One-On-One Ep.135 : ‘มองความจริงของสื่อ ผ่านข่าวลวงในยุคโควิด’ – วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง ว่าด้วยเรื่องเฟคนิวส์ในยุคโควิด และการทำหน้าที่ของสื่อในยุคดิจิทัล

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

15 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

“คนก็ต้องการการดูแลจิตใจ”: มองปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19 กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ สนทนา กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ว่าด้วยปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

คุยกับ นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ : เมื่อเด็กและครอบครัวคือจุดเปราะบางท่ามกลางวิกฤต

เมื่อเด็กและครอบครัวคือจุดเปราะบางที่สุดของสถานการณ์โรคระบาด อะไรคือมาตรการเพื่อไม่ให้ความเปราะบางแตกร้าวลง

ธิติ มีแต้ม

5 May 2020
1 5 6 7 17

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

กระจายอำนาจคือคำตอบ

24 Apr 2024

ผลิตจิตแพทย์

เมื่อปัญหาจิตแพทย์ขาดแคลนเป็นเพียงภาพสะท้อนปลายเหตุ นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ จึงชวนดูต้นเหตุของเรื่องนี้ ซึ่งโยงใยปัญหานานา

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

24 Apr 2024

Life & Culture

24 Apr 2024

โรคซึมเศร้าของคนเฒ่าคนแก่: ยิ่งสูงวัย ยิ่งเศร้า ยิ่งเข้าถึงยาก

101 ชวนสำรวจปัญหาโรคซึมเศร้าในผู้สูงวัย เมื่อโรคนี้ไม่ได้เกิดแค่กับคนวัยหนุ่มสาว แต่กลายเป็น ‘โรคเงียบ’ ของคนเฒ่าคนแก่

พรสุดา เสริฐจันทึก

24 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save