fbpx

Science & Innovation

8 May 2020

ท้าทายสายตามนุษย์ : เรามองเห็นความจริง หรือมองเห็นจากความทรงจำ

คอลัมน์ Brainbug เดือนนี้ ชัยภัทรพาไปรู้จักกระบวนการมองเห็นที่ซับซ้อนของมนุษย์ เพราะอะไรคอมพิวเตอร์จึงไม่อาจเลียนแบบการอธิบายสิ่งที่อยู่ตรงหน้าได้เท่ามนุษย์

ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์

8 May 2020

Art & Design

7 May 2020

ภาพปรากฏของนิทรรศการ

ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนมองความเปลี่ยนแปลงของนิทรรศการศิลปะที่เคลื่อนย้ายจากโลกจริงไปสู่โลกเสมือนจริงเนื่องด้วยวิกฤตโควิด-19 ผ่านนิทรรศการ ‘ออเหลน’ ของกรกฤช เจียรพินิจนันท์

ธนาวิ โชติประดิษฐ

7 May 2020

Film & Music

6 May 2020

เจ็บแล้วไม่รู้จักจำ Uncut Gems

คอลัมน์ Deep Focus ประจำเดือนนี้ ‘นรา’ เขียนถึง Uncut Gems อีกหนึ่งหนัง drama thriller ยอดเยี่ยมใน Netflix ที่มีลูกเล่นด้านภาพ เสียง และบทภาพยนตร์เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว

นรา

6 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

“คนก็ต้องการการดูแลจิตใจ”: มองปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19 กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ สนทนา กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ว่าด้วยปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

คุยกับ นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ : เมื่อเด็กและครอบครัวคือจุดเปราะบางท่ามกลางวิกฤต

เมื่อเด็กและครอบครัวคือจุดเปราะบางที่สุดของสถานการณ์โรคระบาด อะไรคือมาตรการเพื่อไม่ให้ความเปราะบางแตกร้าวลง

ธิติ มีแต้ม

5 May 2020

Happy Family

4 May 2020

ถ้าไม่ได้อยู่พร้อมหน้าแบบพ่อแม่ลูกล่ะ เราจะยังเรียกว่าครอบครัวอยู่ไหม

รู้จักครอบครัวหลากหลายรูปแบบ เช่น ครัวเรือนคนเดียว, ครอบครัว LGBT, ครอบครัวแหว่งกลาง และบ้านพักคนชรา ที่มีชุดความสัมพันธ์แตกต่างกันไป ตามที่แต่ละคนออกแบบ

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

4 May 2020

Books

4 May 2020

ร้านหนังสือกับความฝันและความเป็นจริงของ ‘หนุ่ม หนังสือเดินทาง’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงประสบการณ์ของตัวเองใน ‘ร้านหนังสือเดินทาง’ ผสานเรื่องเล่าในหนังสือ ‘A great little place called Independent Bookshop’ โดย ‘หนุ่ม หนังสือเดินทาง’

อาทิตย์ ศรีจันทร์

4 May 2020

Happy Family

1 May 2020

ตรวจ (เทรนด์) สุขภาพคนไทยในยุค COVID-19 กับ สุปรีดา อดุลยานนท์

101 สนทนากับ ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เกี่ยวกับความท้าทายด้านสุขภาพของคนไทยในวิกฤต ไปจนถึงเรื่องใหญ่อย่างปัญหาความเหลื่อมล้ำ และบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. ในยุคโควิด-19

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

1 May 2020

Science & Innovation

30 Apr 2020

วันหมดอายุของนักคิด

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล ค้นหาคำตอบว่าทำไมคนยิ่งแก่ตัวลง ความคิดอ่านจึงยิ่งถอยหลังและหลุดจากกรอบสังคมปัจจุบันมากขึ้นทุกที

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล

30 Apr 2020

Issue of the Age

30 Apr 2020

โรคระบาดปั่น ลาตินอเมริกาป่วน กับ เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

101 ชวน ดร.เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ นักวิชาการด้านลาตินอเมริกาศึกษา สำรวจสถานการณ์ COVID-19 ในลาตินอเมริกา

วจนา วรรลยางกูร

30 Apr 2020

Life & Culture

30 Apr 2020

หน่วยเคลื่อนที่เร็ว

วรพจน์ พันธุ์พงศ์ เล่าถึงการทำงานสื่อในสถานการณ์ฉุกเฉิน ทั้งเผชิญกับเงื่อนไขรายล้อม ทั้งภาระและพันธะ แล้วอะไรทำให้ต้องตัดสินใจเลือก…

วรพจน์ พันธุ์พงศ์

30 Apr 2020

Health

29 Apr 2020

บทเรียนจากความตาย

ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึงสิ่งที่ความตายและกระบวนการสู่ความตายให้บทเรียนกับเรา ผ่านหนังสือ ‘วาระสุดท้าย: คู่มือสบตาความตายอย่างอบอุ่นและซื่อตรง’ โดยแซลลี ทิสเดล

ภาคิน นิมมานนรวงศ์

29 Apr 2020

Lifestyle

28 Apr 2020

แกะรอยสาแหรกรสชาติจากเทคนิคการปรุง: จาก ‘ข้าวเม็กซิกัน’ สู่ ‘ข้าวผัดอเมริกัน’

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา พาสืบหาประวัติศาสตร์ที่มาของข้าวผัดอเมริกัน ผ่านการปรุงอาหารของคนในอดีต จาก “ข้าวสเปน” ในเม็กซิโก, “ข้าวเม็กซิกัน” ในอเมริกา, สู่ “ข้าวผัดอเมริกัน” ที่เรารู้จักกันในประเทศไทย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

28 Apr 2020

Issue of the Age

28 Apr 2020

บทเรียนเผชิญ COVID-19 จากสแกนดิเนเวีย : ปรีดี หงษ์สต้น

เจาะลึกทุกมิติในการรับมือไวรัสระบาดของสแกนดิเนเวีย พร้อมชวนมองไปข้างหน้า อะไรคือโจทย์ในอนาคตของกลุ่มประเทศที่ถูกมองว่าเจริญที่สุดในโลก

ธิติ มีแต้ม

28 Apr 2020

Lifestyle

28 Apr 2020

‘ทำเรื่องเล่นให้จริงจัง’ : ความสร้างสรรค์ของไต้หวันยุคใหม่

ธีรภัทร เจริญสุข เขียนถึง ‘ความสร้างสรรค์’ ของไต้หวัน ไล่เรียงตั้งแต่ชานมไข่มุก การ์ตูนลายเส้นแบบไต้หวัน และ ส.ส. สวมคอสเพลย์บนเวทีหาเสียง

ธีรภัทร เจริญสุข

28 Apr 2020
1 98 99 100 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

22 Apr 2024

‘หลานม่า’ มูลค่าแห่งความห่วงหาอาทร

ในความรักและเอาใจช่วย ‘หลานม่า’ (2024) หนังยาวของ พัฒน์ บุญนิธิพัฒน์ มากแค่ไหน แต่นักวิจารณ์ภาพยนตร์อย่าง ‘กัลปพฤกษ์’ ก็ยังอยากท้วงติงถึงความไม่สมบูรณ์บางอย่างของหนังอยู่ดี ไม่ว่าจะจากบทหรือการแสดงก็ตาม

‘กัลปพฤกษ์’

22 Apr 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save