fbpx

Global Affairs

19 Aug 2021

การคะเนพลาดในประวัติศาสตร์สงคราม

ในวาระครบรอบ 76 ปีสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ‘การคะเนพลาด’ ในยุทธศาสตร์สงครามของทั้งชาติฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่านอักษะจนกลายเป็นหุบเหวไปสู่มหาสงคราม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

19 Aug 2021

Global Affairs

5 Aug 2021

ตามแนวคิด-ต่อทฤษฎี จากงานการต่างประเทศไทยของพีระ เจริญวัฒนนุกูล (ตอนที่ 1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่านแนวคิด ‘ความมั่นคงเชิงภวสภาพ’ ที่มองว่าปัญหาความมั่นคงของรัฐเชื่อมโยงกับแผลในใจของสังคมที่รู้สึกว่าเกียรติภูมิของประเทศชาติบ้านเมืองของตนถูกกระทบกระทั่งโดยอำนาจภายนอกที่เหนือกว่าเข้ามาบังคับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

5 Aug 2021

World

2 Aug 2021

เปิดบทเรียนโลกาภิบาลในห้วงยามโรคระบาด: กติกาโลกใหม่จะเป็นอย่างไรในยุคโควิด-19?

101 ชวนอ่านทรรศนะของผู้เชี่ยวชาญจากหลายวงการ เกี่ยวกับกติกาโลกในยุคโรคระบาด และแนวโน้มเศรษฐกิจการเมืองโลกในยุคที่มหาอำนาจแบ่งฝ่ายกันอย่างชัดเจน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

2 Aug 2021

Global Affairs

23 Jul 2021

ยกเครื่องปฏิรูประบบภาษีโลก: จุดเปลี่ยนเศรษฐกิจโลก?

101 ชวนสำรวจแผนการปฏิรูประบบภาษีโลก – แผนการรับมือต่อความท้าทายของเศรษฐกิจโลกยุคโลกาภิวัตน์ของประชาคมโลก พร้อมทั้งความเป็นไปได้อื่นๆ ของการออกแบบระบบภาษีโลกให้มีความเป็นธรรม

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

23 Jul 2021

Thailand: The Great Reset

21 Jul 2021

“รัฐใดสามารถผูกขาดเทคโนโลยีได้ รัฐนั้นสามารถปกครองโลกได้” มองภูมิศาสตร์การเมืองโลกใหม่ กับ จิตติภัทร พูนขำ

101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มองภูมิศาสตร์การเมืองโลกใหม่ ทั้งโจทย์โลกสองขั้วอำนาจ บทบาทของเทคโนโลยี และการต่างประเทศของไทยในห้วงความเปลี่ยนแปลง

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

21 Jul 2021

World

16 Jul 2021

ทฤษฎีไขปัญหา ไขปัญหาทฤษฎี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึง ‘ทฤษฎีไขปัญหา’ ในวิชาไออาร์ ซึ่งเป็นคู่แข่ง ‘ทฤษฎีเชิงวิพากษ์’ ที่กำลังมีอิทธิพลในหมู่นักเรียนไออาร์รุ่นใหม่

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

16 Jul 2021

Global Affairs

13 Jul 2021

ยุทธศาสตร์อาวุธนิวเคลียร์ในศตวรรษที่ 21: มหาอำนาจยังสะสมอาวุธนิวเคลียร์ไปทำไม

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา เขียนถึง ยุทธศาสตร์อาวุธนิวเคลียร์แบบ ‘บังคับให้ทำตาม’ (compellence) ซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่มหาอำนาจโลกยังคงเดินหน้าเพิ่มจำนวนและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ต่อไปมากกว่าที่จะลดอาวุธตามสูตรยุทธศาสตร์อาวุธนิวเคลียร์แบบ ‘ป้องปราม’ (deterrence) รวมทั้งสำรวจถกเถียงต่อยุทธศาสตร์เหล่านี้ว่า เป็นไปได้จริงมากน้อยแค่ในการเจรจาต่อรองระหว่างประเทศ

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

13 Jul 2021

World

7 Apr 2021

การเมืองอวกาศ: ฤาการเมืองจะไปเหยียบดาวอังคาร?

ขวัญข้าว คงเดชา เขียนถึง พลวัตและพัฒนาการของการเมืองอวกาศ ที่โลกยังไม่คุ้นเคยดีและกำลังจะกลายเป็นอีกสมรภูมิงัดข้อระหว่างชาติมหาอำนาจในอีกไม่ช้า

ขวัญข้าว คงเดชา

7 Apr 2021

World

6 Apr 2021

‘เป็นเอกภาพ-บูรณาการ-เปิดกว้าง’: ก้าวต่อไปการต่างประเทศไทยในทศวรรษ 2020

101 ชวนอ่านการคาดการณ์ทิศทางการต่างประเทศไทยในทศวรรษที่ 2020 ซึ่งโลกมีความผันผวนอย่างรุนแรง ผ่านสายตาของผู้เชี่ยวชาญจากหลายภาคส่วน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

6 Apr 2021

World

23 Mar 2021

เสรีนิยมที่หายไป-โลกดิจิทัล-ความหวังบนท้องถนน: โจทย์ประชาธิปไตยโลกยุคหลังทรัมป์

ในวันที่ประชาธิปไตยโลกอยู่ในห้วงเวลาแห่งความพลิกผัน 101 ชวนธเนศ อาภรณ์สุวรรณ และ จันจิรา สมบัติพูนศิริ มองความท้าทายใหม่ของประชาธิปไตยโลกที่ต้องฟื้นจากอาการเอียงขวา เผชิญหน้ากับโลกดิจิทัล และฟังเสียงเรียกร้องบนท้องถนน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

23 Mar 2021

World

17 Mar 2021

อุตสาหกรรม ‘ไอโอ’: ภัยคุกคามประชาธิปไตยในศตวรรษที่ 21

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เขียนถึงอุตสาหกรรม ‘ไอโอ’ และกองกำลังไซเบอร์ ที่อาจกลายเป็นภัยคุกคามประชาธิปไตยในศตวรรษที่ 21

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

17 Mar 2021
1 6 7 8 16

RECOMMENDED

Asia

29 Mar 2024

‘เกาหลีอาจไม่ใช่สวรรค์ของแรงงานข้ามชาติ’ สำรวจความทุกข์ร้อนของนักล่าเงินวอนในดินแดนที่รัฐไม่เหลียวแล

จากประเด็นผีน้อยที่ไม่เคยหายไปจากหน้าปัดสื่อไทย 101 ชวนเปิดไปสู่ประเด็นที่ใหญ่กว่า ว่าด้วยนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติของเกาหลีใต้ สำรวจความทุกข์ยากของแรงงานในรัฐบาล ‘ขวาจัด’ พร้อมพูดคุยกับสหภาพแรงงานข้ามชาติในเกาหลีถึงเส้นทางการต่อสู้กับรัฐและนายจ้าง

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2024

Social Issues

2 Apr 2024

สหภาพแรงงานการศึกษาในสิงคโปร์: พลังต่อต้านในยุคอาณานิคมที่ถูกเลือกปฏิบัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการสหภาพแรงงานครูในสิงคโปร์ ตั้งแต่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา จนกระทั่งแยกตัวออกมาในฐานะชาติใหม่ พร้อมสำรวจเส้นทางการต่อสู้ที่หยั่งรากมาตั้งแต่ช่วงอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

2 Apr 2024

Europe

8 Apr 2024

ถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกี 2024 กับอนาคตของพรรค AKP ที่ถูกสั่นคลอน

ยาสมิน ซัตตาร์ ชวนถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกีที่มีขึ้นเมื่อปลายเดือนมีนาคม 2024 ที่ผ่านมา ชัยชนะของพรรคฝ่ายค้าน CHP กำลังฉายภาพ ‘ขาลง’ ของพรรครัฐบาลอย่าง AKP ที่นำโดยประธานาธิบดีแอรโดก์อานหรือไม่ และผลการเลือกตั้งครั้งนี้สะท้อนอะไรในการเมืองระดับชาติ

ยาสมิน ซัตตาร์

8 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save