ขณะที่สังคมตั้งคำถามกับการรับมือการแพร่ระบาดโควิด-19 ของรัฐบาล คำถามสำคัญก็คือเรามีหนทางอื่นๆ ให้เห็นเป็นตัวอย่างหรือไม่ และมีแนวทางแบบไหนบ้างที่ไทยควรไปถึง
101 ชวนเดินทางรอบโลกผ่านประสบการณ์ของคนในพื้นที่ ทั้งสหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย ลาตินอเมริกา แอฟริกา ฯลฯ แต่ละภูมิภาคมีวิธีการรับมือโควิด-19 อย่างไร และเราจะถอดบทเรียนได้อย่างไร
101 สรุปเนื้อหาจากวงสนทนา ‘ถอดบทเรียนรับมือโควิดรอบโลก’ และชวนจินตนาการว่าเราจะก้าวต่ออย่างไรให้มีประสิทธิภาพในภาวะวิกฤตเช่นนี้
หมายเหตุ: บันทึกเทปเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2564
:: สหรัฐอเมริกา ::
:: สหราชอาณาจักร ::
:: ออสเตรเลีย ::
:: จีน ::
:: ถอดบทเรียนความสำเร็จของจีน ::
:: อินเดีย ::
:: ถอดบทเรียนโควิด-19 จากอินเดีย ::
:: ทวีปแอฟริกา ::
:: เก็บตกประเทศในทวีปแอฟริกาที่น่าสนใจ (1) ::
:: เก็บตกประเทศในทวีปแอฟริกาที่น่าสนใจ (2) ::
:: ทวีปลาตินอเมริกา ::
:: เก็บตกประเทศในทวีปลาตินอเมริกาที่น่าสนใจ (1) ::
:: เก็บตกประเทศในทวีปลาตินอเมริกาที่น่าสนใจ (2) ::
Related Posts
101 (mid)night round: ถอดบทเรียนรับมือโควิดรอบโลกชวนท่องโลก สำรวจบทเรียนรับมือโควิด-19 ในสหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย ลาตินอเมริกา และแอฟริกา ตลอดระยะเวลา 1 ปีที่โควิด-19 ระบาดไปทั่วโลก แต่ละพื้นที่มีลักษณะเฉพาะของปัญหาอย่างไร และมีรูปแบบการแก้ปัญหาอย่างไร
'นับหนึ่งให้ถึงล้าน'รวมภาพเหตุการณ์ชุมนุมบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยโดยกลุ่มราษฎร เพื่อเรียกร้องให้ปล่อยตัว 4 แกนนำราษฎรคือ พริษฐ์ ชิวารักษ์, อานนท์ นำภา, สมยศ พฤกษาเกษมสุข และปติวัฒน์ สาหร่ายแย้ม เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์…
#StandWithMyanmarรวมภาพเหตุการณ์ชาวเมียนมามาชุมนุมกันบริเวณหน้าสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาประจำประเทศไทย เพื่อคัดค้านการรัฐประหารของกองทัพเมียนมา และเรียกร้องให้ปล่อยตัวออง ซาน ซูจี และเจ้าหน้าที่ที่ถูกควบคุมตัวเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564
101 Visual Journal 2020 : Graphicตลอดปี 2020 นี้ เราทั้งสามคนได้อ่านบทความและทำภาพประกอบมารวมกันไม่ต่ำกว่าร้อยบทความ ครบเครื่องทุกรสทั้งเรื่อง ระหว่างประเทศ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ฯลฯ จากกว่าร้อยบทความ นี่คือ 10 ภาพประกอบเด่นพร้อมเบื้องหลังการตีความของพวกเรา ที่อยากชวนให้ทุกท่านมาร่วมคิดตามไปด้วยกัน
-
พี่ๆ ข่มขืนหนูซ้ำทำไม?คุณว่าอะไรคือสิ่งที่ทำให้ผู้หญิงไม่กล้าเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม? คุณเคยตั้งคำถามหรือมีอคติกับผู้ที่เป็นเหยื่อความรุนแรงทางเพศหรือเปล่า? ทำไม การถามเหยื่อว่า “ทำไมแต่งตัวแบบนั้น ถึงเป็นคำถามท่ี่ไม่ควรถาม?” การตั้งคำถามแบบไหน ที่ช่วยฟื้นฟูจิตใจเหยื่อ?
ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น สมชัย สุวรรณบรรณ โควิด-19 โควิดรอบโลก วิริยาณ์ พรสุริยะ จุฑา เสาวภา
อดีตผู้สื่อข่าวของสำนักข่าวไทยและญี่ปุ่น จบป.ตรีด้านเศรษฐศาสตร์ จากจุฬาฯ จบป.โทด้านเอเชียศึกษาจากม.เทคโนโลยีนันยาง สิงคโปร์ ชอบเปิดโลกกว้างให้ตัวเองด้วยการอ่านหนังสือ ดูหนัง และท่องเที่ยว และรักที่จะถ่ายทอดความรู้ให้ผู้คน
อดีตเป็นกองบรรณาธิการ ปัจจุบันเป็นวัยทำงานที่ภาวนาทุกวันให้ไม่ปวดหลัง อนาคตอยากมีห้องอ่านหนังสือ และได้นั่งอ่านหนังสือเงียบๆ กับสุนัขอ้วนฟูสักตัว
กราฟิกดีไซเนอร์ประจำเว็บไซต์ 101 ผู้รักการเล่าเรื่องผ่านภาษาภาพ