fbpx

World

4 Mar 2022

‘ชุมชนจินตกรรม’ ของวลาดิเมียร์ ปูติน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงเหตุผลการบุกยูเครนของรัสเซียผ่านรากความเชื่อทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นแก่นคิดของปูตินที่ใช้ในการปกครองเสมอมา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Mar 2022

World

2 Mar 2022

ก้าวต่อไปของสงครามรัสเซีย-ยูเครน: โลกบนเส้นบางๆ ระหว่าง ‘สงคราม’ และ ‘สันติภาพ’

ล่วงเข้าสู่วันที่หกของการบุกโจมตียูเครน ในช่วงเวลาที่อุณหภูมิความตึงเครียดระหว่างยูเครนและรัสเซียยังคงไม่มีท่าทีที่จะเย็นลง ควบคู่ไปกับความพยายามในการเปิดประตูการเจรจา 101 ชวนถอดรหัส ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ท่ามกลางสภาวะฝุ่นตลบ ผ่านมุมมองแบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

2 Mar 2022

World

2 Mar 2022

การศึกษานโยบายต่างประเทศไทยตาม research program ontological security ของอาจารย์พีระ เจริญวัฒนนุกูล (หรือ ตามแนวคิด – ต่อทฤษฎี ฯ ตอนที่ 3)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการสร้างองค์ความรู้ในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยใช้ research program ผ่านหนังสือของพีระ เจริญวัฒนนุกูล

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

2 Mar 2022

Global Affairs

20 Feb 2022

จากยูเครนสู่ปัตตานี กรณี Gerasimov Doctrine และแผนบันได 7 ขั้น

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองสถานการณ์ความขัดแย้งยูเครน ซึ่งตกเป็นสมรภูมิการสงครามผสมผสาน (hybrid warfare) ระหว่างชาติมหาอำนาจ พร้อมถอดบทเรียนสู่กรณีปัตตานี

ปิติ ศรีแสงนาม

20 Feb 2022

World

2 Feb 2022

สีจิ้นผิงกับคำสาปสามชั่วคน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ‘คำสาปสามชั่วอายุคน’ ในยุคสีจิ้นผิง ว่า ความเจริญรุ่งเรืองของจีนจะต้องเผชิญกับจุดจบตามคำสาปหรือไม่ หรือกำลังจะเข้าสู่ ‘ยุคใหม่’ ที่จีนจะแข็งแกร่งขึ้นมา เปิดยุคใหม่ต่อจากยุคปฏิรูปและเปิดประเทศ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

2 Feb 2022

World

20 Jan 2022

จับตาอนาคตไทยและโลก 2022 : จีน-สหรัฐ เดิมพันใหญ่ – ความหวังกลางวิกฤตเงินเฟ้อ – สมรภูมิเดือดเลือกตั้งไทย

เปิดวง Round Table ชวนสนทนาจับตาอนาคตไทยและโลกปี 2022 กับ อาร์ม ตั้งนิรันดร – ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

กองบรรณาธิการ

20 Jan 2022

World

19 Jan 2022

World 2022 and Beyond: ‘แผนที่ใหม่’ ของเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกสองขั้วอำนาจ

ในวันที่โลกกำลังก้าวสู่จุดเปลี่ยนอีกครั้งในปี 2022 จิตติภัทร พูนขำ ฉายภาพความเปลี่ยนแปลงของ ‘แผนที่ใหม่’ ในเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกที่กำลังหวนคืนสู่ระบบสองขั้วอำนาจอีกครั้งและกำลังขยับขยายปริมณฑลการขับเคี่ยวไปสู่สนามเทคโนโลยี และสนามระบบคุณค่า มองความท้าทายจาก ‘การเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่’ ในมิติเชิงอำนาจ โลกทัศน์ โรคระบาด และพลังงานที่โลกจะต้องเผชิญ พร้อมทั้งมองยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยท่ามกลางกระแสลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Jan 2022

World

22 Nov 2021

กว่าจะเป็นทางรถไฟล้านช้าง: บทเรียนจากแอฟริกา สู่ สปป.ลาว

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองเส้นทางรถไฟล้านช้าง เชื่อมโยงจีนกับ สปป.ลาว ที่จะเปิดให้บริการวันที่ 2 ธันวาคม 2021 โดยย้อนถอดบทเรียนถึงเส้นทางรถไฟต่างๆ ในทวีปแอฟริกาที่จีนเข้าไปลงทุน

ปิติ ศรีแสงนาม

22 Nov 2021

Interviews

17 Nov 2021

Exclusive: Maria Ressa ผู้คว้าโนเบลสันติภาพ 2021 – เมื่อโลกฟูเฟื่องด้วยเรื่องเท็จและเผด็จการ ‘นักข่าว’ จึงต้องเป็นความหวัง

101 สัมภาษณ์พิเศษ Maria Ressa นักข่าวฟิลิปปินส์ผู้คว้ารางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปี 2021 ถึงการต่อสู้ของเธอและสำนักข่าว Rappler ในโลกที่เต็มไปด้วยความเท็จและการผงาดของอำนาจนิยม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

17 Nov 2021

World

12 Nov 2021

ชวนคิดนอกกรอบ COP26: เมื่อการแข่งขันอาจช่วยแก้ปัญหาโลกร้อนได้ดีกว่าความร่วมมือ?

ส่งท้ายการประชุม COP26 จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา เขียนถึง ความยากลำบากในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านกรอบพหุภาคี และการพัฒนา ‘ความร่วมมือแบบคลับ’ ที่มีแนวคิด ‘การเติบโตสีเขียว’ เป็นแก่น และใช้การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ในการขับเคลื่อนความร่วมมือภายในคลับ

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

12 Nov 2021

Social Issues

3 Nov 2021

รัฐบาลไทยสัญญาอะไรไว้ในเวทีโลก: สิ่งที่ควรรู้ในกลไกตรวจสอบสิทธิมนุษยชน UPR รอบ 3

ดนย์ ทาเจริญศักดิ์ ชวนทำความเข้าใจกลไก UPR และทบทวนการบ้านของรัฐบาลไทยก่อนจะเข้าสู่การตรวจสอบครั้งที่ 3

ดนย์ ทาเจริญศักดิ์

3 Nov 2021

World

11 Oct 2021

ชวนคุยเรื่อง AUKUS: ว่าด้วยศึกภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังไม่มีคำตอบ และอนาคตการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ที่ไม่แน่นอน

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา ชวนคิดต่อว่าด้วยผลที่ยัง ‘คาดการณ์ได้ยาก’ ของยุทธศาสตร์ AUKUS ต่อพลวัตทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอินโดแปซิฟิก และความท้าทายต่อการไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ระดับโลกที่ตามมาจากความร่วมมือเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ระหว่างสามประเทศพันธมิตร

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

11 Oct 2021

World

8 Oct 2021

ไทยในเกมภูมิรัฐศาสตร์โลก: ยุทธศาสตร์ 3M

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ยุทธศาสตร์ 3M ยุทธศาสตร์สำหรับการตั้งหลักไทยให้มั่นในโลกที่การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างสองขั้วอำนาจจีน-สหรัฐฯ ดำเนินไปอย่างเข้มข้น

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Oct 2021

World

14 Sep 2021

20 ปีเหตุการณ์ 11 กันยายน 2001-2021 เราเรียนรู้อะไรได้บ้าง

ปิติ ศรีแสงนาม ถอดบทเรียนหลังครบรอบ 20 ปีของเหตุการณ์วินาศกรรมสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2001 หรือเหตุการณ์ 9/11

ปิติ ศรีแสงนาม

14 Sep 2021
1 5 6 7 16

RECOMMENDED

Europe

30 Apr 2024

อย่าประมาทพลังชาตินิยมขวาจัด: ‘นาซี’ จาก ‘พรรคปัดเศษ’ สู่ ‘เผด็จการเบ็ดเสร็จ’

ชยางกูร เพ็ชรปัญญา ชวนมองการเติบโตของพรรคนาซี จากพรรคชาตินิยมขวาจัดที่จัดม็อบหรอมแหรม-ชอบปล่อยข่าวปลอม กลายเป็นพรรคที่ปลุกระดมความเกลียดชังสำเร็จจนสร้างบาดแผลใหญ่ให้ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ

ชยางกูร เพ็ชรปัญญา

30 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

World

29 Apr 2024

ฮัลทัวะ ลักซ์เนสส์ ชาวเกาะนอร์ดิค

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ประจำเดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนอ่านเรื่องราวของ ฮัลทัวะ ลักซ์เนสส์ (Halldór Laxness, 1992-1998) ‘ชาวเกาะ’ นอร์ดิค ผู้เป็นนักเขียนเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี 1955

ปรีดี หงษ์สต้น

29 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save