fbpx

World

7 Jun 2022

วิชาเลือกเสรี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงศิลปศาสตร์ของผู้นำทางการเมือง ซึ่งเกี่ยวโยงถึง 3 วิธีอ่านหนังสือการเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2475 – 2540) ของภูริ ฟูวงศ์เจริญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

7 Jun 2022

World

3 Jun 2022

เชื่อมความรู้ สู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายการต่างประเทศที่ก้าวทันโลก คุยกับ อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ

ในห้วงเวลาที่การต่างประเทศไทยเผชิญต่อความท้าทายครั้งสำคัญ 101 สนทนากับ ดร.อนุสนธิ์ ชินวรรโณ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ ถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกและการปรับปรุงนโยบายการต่างประเทศไทยด้วยองค์ความรู้ ไปจนถึงเอกภาพของการต่างประเทศไทยและนโยบายการทูตแบบไม้ไผ่กลางความผันผวน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

3 Jun 2022

World

5 May 2022

ความย้อนแย้งในสงครามรัสเซียบุกยูเครน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองประวัติศาสตร์การต่อสู้บนฐานทางอุดมการณ์ของรัสเซียในอดีต อันสะท้อนให้เห็นความย้อนแย้ง (paradox) ของสงครามรัสเซียบุกยูเครนเมื่อมองกลับมายังปัจจุบัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 May 2022

Curious Economist

1 May 2022

รู้จัก ‘เผด็จการนักปลุกปั่น’ การปรับตัวของท่านผู้นำในยุคอินเทอร์เน็ต

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนดูเทรนด์ผู้นำเผด็จการในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนวิธีกระชับอำนาจจากการใช้กำลัง สู่การปลุกปั่นด้วยการใช้ข้อมูลข่าวสาร

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

1 May 2022

Politics

19 Apr 2022

อาชญากรรมสงคราม (war crimes) : อาชญากรรมของผู้ฝ่าฝืนกฎการทำสงคราม ไม่ใช่อาชญากรรมของผู้ก่อสงคราม

จากกรณีสงครามรัสเซียยูเครน ปกป้อง ศรีสนิท ชวนทำความเข้าใจ ‘อาชญากรรมสงคราม’ และความเป็นไปได้ในการดำเนินคดีอาชญากรรมสงครามในศาลอาญาระหว่างประเทศ

ปกป้อง ศรีสนิท

19 Apr 2022

World

6 Apr 2022

ปูตินไม่ชนะ แต่อาจไม่แพ้

อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Apr 2022

World

1 Apr 2022

‘เสถียรภาพในความขัดแย้ง’: บทบาทของอาวุธนิวเคลียร์ในสงครามรัสเซีย-ยูเครน

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา วิเคราะห์พฤติกรรมการไม่แทรกแซงของมหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน ผ่านแนวคิด ‘ความย้อนแย้งของความมีเสถียรภาพ-ความไร้เสถียรภาพ’ (stability-instability paradox)

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

1 Apr 2022

PopCapture

30 Mar 2022

ไม่มีรัสเซียในอุตสาหกรรมหนัง เกม และฟุตบอล เมื่อโลกพร้อมใจกันหันหลังให้รัสเซีย

ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ยังระอุอยู่ทุกขณะ เมื่อโลกพร้อมใจกันคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซียเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้านการรุกราน และคอลัมน์ PopCapture ก็พาสำรวจโลกของการคว่ำบาตร ที่มีมากกว่าด้านการเงิน แต่หมายรวมถึงด้านวัฒนธรรมที่ชวนบาดเจ็บไม่แพ้กันด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

30 Mar 2022

World

28 Mar 2022

Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Mar 2022

Global Affairs

22 Mar 2022

บทเรียนจากการถล่มเลนินกราดถึงสมรภูมิเคียฟ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าย้อนเมื่อคราวเที่ยวรัสเซียปี 2017 รำลึกถึงประวัติศาสตร์อันขมขื่นของรัสเซียช่วงที่โดนบุกโดยกองทัพนาซีเยอรมันช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อันสะท้อนภาพถึงสิ่งที่ยูเครนกำลังเผชิญในปัจจุบัน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

22 Mar 2022

Global Affairs

16 Mar 2022

ผลกระทบและแนวทางการรับมือของไทยจากสถานการณ์สงครามในยูเครน

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองผลกระทบของสงครามรัสเซีย-ยูเครน ที่มีต่อประเทศไทย ทั้งในแง่เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศ พร้อมเสนอแนะแนวทางการรับมือ

ปิติ ศรีแสงนาม

16 Mar 2022

World

15 Mar 2022

โตเกียวเสียขวัญ เมื่อเสียงปืนสนั่นฟ้ายูเครน

เมื่อสงครามรัสเซีย-ยูเครน สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อทั่วโลก ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ระเบียบความมั่นคงบนกลไกการป้องปรามที่สั่นคลอนในเอเชียตะวันออก ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในระบบพันธมิตรระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ อันเป็นผลจากการรับประกันความมั่นคงและการตอบสนองที่ล้มเหลวของชาติพันธมิตรยุโรปและสหรัฐฯ ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

15 Mar 2022

World

10 Mar 2022

คีฟ (Kyiv) หรือ เคียฟ (Kiev) – การเอ่ยนามนั้นสำคัญใช่ไหมล่ะ

ณภัค เสรีรักษ์ ชวนคุยถึงการเมืองเรื่องภาษา เมื่อการเลือกใช้คำ สะกดคำ หรือออกเสียงคำเรียกสิ่งต่างๆ ย่อมสัมพันธ์กับการเมือง เช่น ชื่อเมืองหลวง

ณภัค เสรีรักษ์

10 Mar 2022

World

9 Mar 2022

ถอดรหัสวิกฤตรัสเซีย-ยูเครนผ่านเอเชียตะวันออกและอาเซียน

101 ชวนมองวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน ไล่เรียงตั้งแต่ที่มาที่ไป โดยเฉพาะในมุมมองของรัสเซีย ท่าทีของรัฐในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงการคาดการณ์แนวโน้มในอนาคตที่อาจเกิดขึ้นได้สำหรับสงครามครั้งนี้

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

9 Mar 2022
1 4 5 6 17

RECOMMENDED

Thai Politics

10 May 2024

ประชามติแบบใดให้พัง: บทเรียนจากต่างประเทศ

101 PUB ชวนสำรวจประชามติในต่างประเทศ ซึ่งเคย ‘พัง’ มาก่อน ถอดบทเรียนกลับมาปรับใช้กับ ‘ประชามติจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่’ ของไทยไม่ให้พังตามกันไป

วรดร เลิศรัตน์

10 May 2024

มองอเมริกา

2 May 2024

วิบากกรรมของโดนัลด์ ทรัมป์และโจ ไบเดนกับชะตากรรมในการเลือกตั้ง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองทิศทางการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ท่ามกลางการประท้วงสงครามอิสราเอล-ปาเลสไตน์ในหลายมหาวิทยาลัย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 May 2024

Asia

30 Apr 2024

ส่องสมรภูมิเลือกตั้งอินเดีย 2024: เส้นทางสู่นายกรัฐมนตรีสมัยที่ 3 ของโมดี?

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์การเลือกตั้งทั่วไปของอินเดียที่เริ่มขึ้นเมื่อ 19 เม.ย. ที่ผ่านมา ท่ามกลางความเป็นไปได้ที่พรรค BJP ของนายกฯ นเรนทรา โมดี จะกุมชัยชนะได้อีกครั้ง ตัวแสดงทางการเมืองอื่นๆ มีบทบาทอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมืองอินเดียในการเลือกตั้งครั้งนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

30 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save