fbpx

Economic Focus

29 Jan 2020

‘Break Up Big Tech’ : เมื่อนักการเมืองต้องการลดอิทธิพลบริษัทไอทียักษ์ใหญ่

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ สำรวจเบื้องหลังแคมเปญต่อต้านการผูกขาดของบริษัทไอทียักษ์ใหญ่ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ 2020

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

29 Jan 2020

Europe

27 Jan 2020

เพื่อนผมเป็นคนอิหร่าน-สวีเดน

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงเพื่อนชาวอิหร่านที่อพยพไปใช้ชีวิตที่สวีเดน และเข้าร่วมกับขบวนการประชาธิปไตยเพื่อเคลื่อนไหวต่อต้านกลุ่มฟาสซิสต์

ปรีดี หงษ์สต้น

27 Jan 2020

World

27 Jan 2020

‘ทหาร’ กับ ‘การพัฒนาประชาธิปไตย’ เป็นไปได้ไหม? : บทเรียนจากอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเรื่องทหารกับการพัฒนาประชาธิปไตยในอินโดนีเซียผ่านสามช่วงเวลา พร้อมทั้งตอบคำถามว่า จะเป็นไปได้หรือไม่ที่ทหารจะเข้ามามีบทบาททางการเมือง ควบคู่ไปกับการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศ

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

27 Jan 2020

Asia

26 Jan 2020

อินเดีย 2020 กับมรสุมลูกใหญ่ที่ต้องก้าวข้าม

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจปัญหาและอุปสรรคทางด้านการพัฒนาของอินเดียในปี 2020 ที่รัฐบาลโมดี 2.0 ต้องเผชิญ และชวนมองความเป็นไปของอินเดียในปีนี้ว่าจะมีแนวโน้มเป็นอย่างไร

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Jan 2020

World

24 Jan 2020

Mega Megxit ทางออกที่(ถูก)เลือกแล้ว

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึง #Megxit ที่กำลังสั่นสะเทือนอังกฤษและไม่ได้ส่งผลเสียต่อเฉพาะดยุกและดัชเชสแห่งซัสเซกซ์เท่านั้น แต่ยังอาจเป็นความสูญเสียของราชวงศ์และประเทศชาติด้วย

สมชัย สุวรรณบรรณ

24 Jan 2020

Asia

23 Jan 2020

เกาะคุก จับแพะ และเผด็จการ : กว่าประชาธิปไตยจะปักหลักบนเกาะไต้หวัน

นิติธร สุรบัณฑิตย์ เขียนถึงประวัติศาสตร์บาดแผลของไต้หวัน กว่าประชาธิปไตยจะแทงรากอย่างมั่นคงในปัจจุบัน

นิติธร สุรบัณฑิตย์

23 Jan 2020

Books

23 Jan 2020

วรรณกรรมเกาหลี: ช่องว่างระหว่างมีและซอล เราได้ยินอะไร? (1)

จักรกริช สังขมณี เขียนถึง “มี ในเมษายน ซอล ในกรกฎาคม” หนังสือรวมเรื่องสั้น ที่จะสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เกาหลีใต้ร่วมสมัย ในตอนแรกว่ากันด้วยสามเรื่องสั้นที่จะพาสำรวจประเด็น การศึกษา ความหลากหลายทางเพศ และการเปลี่ยนแปลงของเมืองผ่านร้านสะดวกซื้อ

จักรกริช สังขมณี

23 Jan 2020

Trends

21 Jan 2020

จากเอไอถึงเอเลี่ยน: นี่คืออนาคตของพวกเราตลอดทศวรรษนี้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงเทรนด์ที่อาจเกิดขึ้นใน 10 ปีต่อจากนี้ ตั้งแต่เรื่องบทบาทของปัญญาประดิษฐ์ รถพลังงานไฮโดรเจน จำนวนประชากรโลก ควอนตัมคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงการสำรวจอวกาศ

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

21 Jan 2020

World

17 Jan 2020

รัสเซียยุค(หลัง)ปูติน? การปรับดุลอำนาจใหม่ กับความวิตกกังวลของชนชั้นนำ

จิตติภัทร พูนขำ ชวนตั้งคำถามถึงการประกาศลาออกของคณะรัฐมนตรีรัสเซีย และการประกาศแก้รัฐธรรมนูญโดยประธานาธิบดีปูติน ผ่านทางการพิจารณาปริศนา 3 ด้านสำคัญ พร้อมคาดการณ์ว่า นี่อาจเป็นการปรับตัวเพื่อเสริมสร้างและรักษาไว้ซึ่งอำนาจนำของระบอบปูติน

จิตติภัทร พูนขำ

17 Jan 2020

China

17 Jan 2020

เมื่อเศรษฐกิจจีนถึงคราวบุญเก่าหมด และต้องแสวงบุญใหม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงเศรษฐกิจจีนที่กำลังจะหมดบุญเก่า และถึงคราวต้องแสวงบุญใหม่โดยใช้จุดแข็งของตนเอง รวมถึงการยกระดับสู่เทคโนโลยีในยุค 4.0 และ 5.0 ที่นักวิเคราะห์มองว่า เป็นโอกาสรอดสำคัญของจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

17 Jan 2020

Trends

16 Jan 2020

มอง ‘ดิจิทัลศึกษา’ ข้ามศาสตร์ : นิติศาสตร์ – เศรษฐศาสตร์ – มานุษยวิทยา

สรุปเสวนาวิชาการ ‘ดิจิทัลศึกษากับอนาคตสังคมไทย’ เทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อประเด็นการศึกษาของ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และมานุษยวิทยา อย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

16 Jan 2020

Trends

16 Jan 2020

โลกร้อนอาจทำให้เราโง่ลง: เมื่อคาร์บอนไดออกไซด์ส่งผลกับสมอง

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์บนโลกทั้งในอาคารและนอกอาคาร อากาศแย่อาจส่งผลกับสมองเรามากกว่าที่คิด

โตมร ศุขปรีชา

16 Jan 2020

Global Affairs

14 Jan 2020

จับตาอนาคตไทยและโลก ปี 2020 : จากเลือกตั้งสหรัฐฯ – พายุสงครามการค้า – ชาตินิยมตื่นตัว

101 เปิดวง Round Table ชวน อาร์ม ตั้งนิรันดร, ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ตอบคำถามถึงความท้าทายที่ต้องพร้อมรับมือในปี 2020

กองบรรณาธิการ

14 Jan 2020

World

14 Jan 2020

Social Democracy นอร์เวย์และสวีเดน : จากมุมมองโครงสร้างครอบครัว

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงการเปลี่ยนผ่านของประเทศในยุโรปที่เป็นสังคมประชาธิปไตย ผ่านมุมมองเรื่องโครงสร้างครอบครัวและระบบสังคมของ ‘เอมมานูเอล ตอดด์’ – นักประชากรศาสตร์

ปรีดี หงษ์สต้น

14 Jan 2020

Trends

14 Jan 2020

มอง ‘ดิจิทัลศึกษา’ ข้ามศาสตร์ : นิเทศศาสตร์ – วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ – รัฐศาสตร์

สรุปเสวนาวิชาการ ‘ดิจิทัลศึกษากับอนาคตสังคมไทย’ เทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อประเด็นการศึกษาและระเบียบวิธีวิจัยในสาขาของตนอย่างไร และองค์ความรู้ที่เรามีอยู่ในเมืองไทยเพียงพอต่อการอธิบายหรือเปล่า

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Jan 2020
1 63 64 65 90

MOST READ

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

Asean

1 May 2024

‘ลี เซียนลุง’ สู่ ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ : การสืบทอดอำนาจสู่ผู้นำรุ่น 4 ในยุคที่การรักษาอำนาจการเมืองสิงคโปร์ไม่ง่ายเหมือนเคย

101 วิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านอำนาจของสิงคโปร์สู่ผู้นำรุ่นที่ 4 ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ ในวันที่พรรค PAP ที่ผูกขาดอำนาจมานาน อาจรักษาอำนาจยากขึ้น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 May 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save