fbpx

World

11 Oct 2018

สังคมสองเสี่ยงในประเทศประชาธิปไตย: รูปแบบและแนวโน้มในบริบทโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ตั้งข้อสังเกตว่า สังคมสองเสี่ยง (polarisation) อาจไม่ได้เป็นภัยต่อประชาธิปไตยเสมอไป แต่ขึ้นอยู่กับบริบททางสังคมการเมืองของแต่ละประเทศ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

11 Oct 2018

Economic Focus

21 Sep 2018

20 ข้อควรรู้ : โอกาสท่ามกลางวิกฤตของไทยและอาเซียน ในสงครามการค้าของสหรัฐฯ

ปิติ ศรีแสงนาม สรุปสงครามการค้าของการค้าของสหรัฐฯ ฉบับย่นย่อ พร้อมทั้งชี้โอกาสและความเสี่ยงของผู้ประกอบไทยในระยะสั้น และทางออกที่ยั่งยืนสำหรับทุกคนในระยะยาว

ปิติ ศรีแสงนาม

21 Sep 2018

วิธีอ่าน

13 Sep 2018

อ่านหาคำถาม “ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและความมั่นคง” (เพื่อทำรายงาน)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ แนะเคล็ดการอ่าน 3 ข้อเพื่อฝึกตั้งคำถามที่ ‘ใช่’ ในโจทย์ด้านยุทธศาสตร์การต่างประเทศและความมั่นคง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Sep 2018

World

27 Jul 2018

Collusive Détente ในการประชุมซัมมิททรัมป์-ปูติน : ข้อสังเกตบางประการ 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์นัยของการประชุมสุดยอดผู้นำระหว่างทรัมป์-ปูติน เมื่อกลางเดือนก.ค. ที่ผ่านมา พร้อมชำแหละมายาคติ 4 ข้อ ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างสองมหาอำนาจ–ในยุคที่ระเบียบเสรีนิยมกำลังถูกสั่นคลอน

จิตติภัทร พูนขำ

27 Jul 2018

World

14 Jul 2018

หมูป่าติดถ้ำ : อารมณ์ ชุมชนนานาชาติ และการเมืองโลก

จันจิรา พูนสมบัติศิริ วิเคราะห์เหตุการณ์ช่วยเหลือ “ทีมหมูป่า” ว่าเหตุใดจึงได้รับความสนใจในระดับโลก รวมถึงการร่วมแรงร่วมใจจากนานาชาติ พร้อมตั้งคำถามว่าเหตุใด “ผู้ประสบภัย” อีกหลายกลุ่ม กลับไม่ได้รับการเหลียวแล

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

14 Jul 2018

วิธีอ่าน

13 Jul 2018

อ่านงานของ Robert Gilpin: ฐานอำนาจรัฐกับการเปลี่ยนแปลงอำนาจในการเมืองโลก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ อ่านการเมืองระหว่างประเทศตามแนวทาง political realism ของโรเบิร์ต กิลปิน เพื่อตอบคำถามว่าอะไรเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการกำหนดอำนาจรัฐบนเวทีโลก

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

13 Jul 2018

World

4 Jul 2018

มาตรฐานการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ในฐานะเครื่องมือสร้างอำนาจทางบรรทัดฐานของอียู

กันยภัทร รัตนวิลาส เขียนถึงเบื้องลึกเบื้องหลังของ ‘GDPR’ กฎหมายคุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล ในฐานะเครื่องมือสร้างอำนาจทางบรรทัดฐาน (Normative Power) ของอียู

กันยภัทร รัตนวิลาส

4 Jul 2018

Spotlights

26 Jun 2018

ความท้าทายแห่งศตวรรษที่ 21 ของพลเมืองดิจิทัล

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง เขียน “คู่มือพลเมืองดิจิทัล” ชวนสนทนาถึงความท้าทายด้านดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 และชวนขบคิดว่าพลเมืองอย่างเราจะรับมือกับความท้าทายเหล่านี้อย่างไรหากต้องการให้อินเทอร์เน็ตเป็นพลังสร้างสรรค์สังคมที่เราปรารถนา

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง

26 Jun 2018

World

22 Jun 2018

สิทธิมนุษยชนสากลจะรอดไหมในระเบียบโลกใหม่? จากโทษประหารในไทยถึงสถานการณ์ในสหรัฐฯ

จากโทษประหารถึงชะตากรรมสิทธิมนุษยชนในโลกอเสรีนิยม จันจิรา สมบัติพูนศิริ ตั้งคำถาม ทำไมแรงกัดดันต่อรัฐที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนจากเวทีโลกจึงไม่ค่อยได้ผลในปัจจุบัน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

22 Jun 2018

Global Affairs

15 Jun 2018

อ่านแนวทางการศึกษา IR จากความทรงจำ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ถอดรหัสการศึกษา IR ของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ – อะไรคือหัวใจของการศึกษา IR ตามแนวทางประเพณีที่หยั่งรากลึกในเมืองไทยมากว่า 70 ปี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Jun 2018

Global Affairs

2 Jun 2018

รัสเซีย : มหาอำนาจเอเชียแปซิฟิก?

อัตลักษณ์แห่งชาติ ยุทธศาสตร์แห่งชาติ ผลประโยชน์แห่งชาติ จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ทำไมรัสเซียไม่สามารถปักหมุดในเอเชียได้

จิตติภัทร พูนขำ

2 Jun 2018

READ-O-SAPIENS

31 May 2018

Why Leaders Lie? ทำไมผู้นำจึงโกหก

คอลัมน์ READ-O-SAPIENS เดือนนี้ ว่าด้วยเรื่องการโกหกของท่านผู้นำ หัวใจของการโกหกอยู่ตรงไหน ผู้นำโกหกกันบ่อยจริงไหม พวกเขาโกหกไปเพื่ออะไร และการโกหกเพื่อประเทศชาตินั้นมีกี่รูปแบบ

ภาคิน นิมมานรวงศ์ หยิบหนังสือ Why Leaders Lie: The Truth about Lying in International Politics (2011) ของ จอห์น เจ. มีร์ไชเมอร์ (John J. Mearsheimer) นักรัฐศาสตร์ชื่อดังชาวอเมริกัน มากางประเด็นเป็น ‘การโกหกเชิงยุทธศาสตร์’ 5 แบบใหญ่ๆ วิเคราะห์ถึงสาเหตุของการโกหกเหล่านั้นไว้อย่างน่าสนใจ

ภาคิน นิมมานนรวงศ์

31 May 2018
1 12 13 14 16

RECOMMENDED

Asean

24 Apr 2024

มูดิก (Mudik) : กลับบ้านเกิดวันฮารีรายา ช่วงเวลาที่ถนนทุกสายมุ่งออกจากจาการ์ตา

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงวัฒนธรรม ‘มูดิก’ หรือการกลับบ้านเกิดของชาวมุสลิมอินโดนีเซียในช่วงวันฮารีรายาอีดุลฟิตรี ผ่านการชวนสำรวจที่มาของคำ และจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมนี้

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

24 Apr 2024

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

มองอเมริกา

2 May 2024

วิบากกรรมของโดนัลด์ ทรัมป์และโจ ไบเดนกับชะตากรรมในการเลือกตั้ง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองทิศทางการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ท่ามกลางการประท้วงสงครามอิสราเอล-ปาเลสไตน์ในหลายมหาวิทยาลัย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 May 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save