fbpx

Global Affairs

26 May 2017

เส้นทางสายไหมใหม่: ภูมิรัฐศาสตร์มหาเกมในยูเรเชีย

“เส้นทางสายไหมใหม่” ไม่ใช่แค่เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานเท่านั้น จิตติภัทร พูนขำ สวมแว่น “ภูมิรัฐศาสตร์โลก” เพื่อวิเคราะห์เส้นทางสายไหมใหม่ในฐานะการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจระดับโลก ทั้งสหรัฐอเมริกาและจีน ในกระดาน “มหาเกม” (great game) แห่งยูเรเชีย

จิตติภัทร พูนขำ

26 May 2017

Global Affairs

24 May 2017

พลเรือนควบคุมทหาร : หนทางสู่ประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ

พลอย ธรรมาภิรานนท์ สำรวจข้อถกเถียงเรื่องการปฏิรูปกองทัพ ทำอย่างไรให้กองทัพอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลพลเรือนเพื่อสร้างประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

24 May 2017

Global Affairs

15 May 2017

ถ้าสองเกาหลีรวมร่าง!

เคยสงสัยกันไหมครับ ว่าถ้าเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้จะกลับมารวมกันเป็นหนึ่งอีกครั้งนี่ จะเป็นไปได้ไหม และถ้าจะรวมกันจริงๆแล้ว มีกระบวนการอย่างไร หรือมีปัญหาอะไรบ้าง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

15 May 2017

Global Affairs

12 May 2017

วิธีอ่านสถานการณ์ 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดเคล็ดวิชา “การอ่านสถานการณ์ 101” สำหรับอ่านสถานการณ์การเมืองโลก ตั้งแต่ “อ่านการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์” จนถึง “อ่านลงไปในตัวสถานการณ์”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

12 May 2017

Global Affairs

28 Apr 2017

ความสัมพันธ์สหรัฐฯ และรัสเซีย: ข้าม(ไม่)พ้น ความตึงเครียดร้าวลึก?

“รัสเซีย” เป็นหนึ่งในประเด็นด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศที่ร้อนแรงที่สุดในยุคโดนัลด์ ทรัมป์

ตั้งแต่การแฮกอีเมลพรรคเดโมแครต ข้อครหาเรื่องการแทรกแซงการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จนทำให้ทรัมป์ได้รับชัยชนะ วาทศิลป์ช่วงหาเสียงของทรัมป์ที่ดูเหมือนจะ “นิยมปูติน” เกินงาม จนถึงการโจมตีทางอากาศของสหรัฐฯ ต่อซีเรีย พันธมิตรสำคัญของรัสเซีย

อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย จะเดินต่อไปบนเส้นทางใด ผู้นำอย่างทรัมป์และปูตินจะจับมือก้าวข้ามความตึงเครียดร้าวลึกที่คุกรุ่นตั้งแต่หลังสงครามเย็นได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ เล่าเบื้องลึกเบื้องหลังและที่มาที่ไปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ใครอยากเข้าใจปมความขัดแย้งระหว่างสองประเทศ พลาดไม่ได้!

จิตติภัทร พูนขำ

28 Apr 2017

Global Affairs

25 Apr 2017

ต้าน “ผู้นำอย่างทรัมป์” ด้วยนวัตกรรมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ สำรวจ “จุดอ่อน” ขบวนการต้านทรัมป์และผองเพื่อนผู้นำการเมืองขวาประชานิยม

ทำไมพวกลิเบอรัลอาจเคลื่อนไหวต่อต้านคนอย่างทรัมป์ไม่สำเร็จ แถมกลับยิ่งทำให้พวกเขาเข้มแข็งขึ้นไปอีก … แล้วเราจะสู้กับผู้นำขวาประชานิยมอย่างทรัมป์อย่างไรดี?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

25 Apr 2017

Global Affairs

14 Apr 2017

วิธีอ่าน 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดคอลัมน์ ‘อ่านโลก แบบ 101’ ทุกวันศุกร์ที่ 2 ของเดือน

“ครูสอนอ่านของผมท่านสอนวิธีอ่านงานวิชาการในสาขาที่ผมเรียนว่า ดนตรีไทยเขามี 3 ชั้น การอ่านเอาเรื่องเพื่อหาและสร้างความรู้ในสาขาของเราก็ต้องฝึกอ่าน 3 ชั้นเป็นพื้นฐานเหมือนกัน …

… ครูของผมใช้ทางอ่าน 3 ชั้นอ่านอะไรๆ ออกมาได้ล้ำลึกพิสดาร แต่พื้นฐานตั้งต้นในการอ่าน 3 ชั้นนี้ความจริงแล้วเรียบง่ายมากครับ ขึ้นอยู่กับว่าใครจะพลิกแพลงกระบวนท่าไปใช้ได้ถึงขั้นไหน”

วิธีอ่าน 3 ชั้น มีเคล็ดวิชาอย่างไร เชิญฝึก ‘วิธีอ่านโลกแบบเอาเรื่อง’ กับ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้เลยครับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Apr 2017

Global Affairs

6 Apr 2017

ซีเรีย 101: จากสงครามกลางเมือง สู่สงครามตัวแทน

ใครอยากรู้ที่มาที่ไปของสงครามซีเรียต้องอ่าน!

คนส่วนใหญ่รู้ว่าเกิดสงครามกลางเมืองในประเทศซีเรีย แต่อะไรคือสาเหตุของสงคราม ที่ทำให้เมืองที่หลายพื้นที่เป็นมรดกโลกถูกทำลายเหลือเพียงซากปรักหักพัง? และทำไมศูนย์กลางของสงครามต้องเป็นเมืองอเลปโป?

นอกจากนั้น สงครามที่ยืดเยื้อยาวนานก้าวไปไกลกว่าการสู้รบกันระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกลุ่มกบฏ แต่พัฒนากลายเป็นสงครามตัวแทนของหลายฝ่าย … ใครเป็นใครในฝ่ายไหนกันบ้าง?

พลอย ธรรมาภิรานนท์ จะพาไปหาคำตอบของคำถามเหล่านี้ และเปิดประเด็นถกเถียงเกี่ยวกับสงครามในซีเรียที่โลกกำลังให้ความสนใจ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

6 Apr 2017

Global Affairs

24 Mar 2017

Operation Chromite : เมื่อเกาหลีใต้เกือบสูญพันธุ์

วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าประวัติศาสตร์เมื่อครั้งเกาหลีใต้เกือบสูญพันธุ์

Operation Chromite ปฏิบัติการทางการทหารที่เมืองอินชอน บัญชาการทัพโดยนายพลดักลาส แมกอาร์เธอร์ มีความสำคัญต่อชะตาชีวิตของประเทศเกาหลีใต้อย่างไร มาร่วมเรียนรู้อดีตไปด้วยกัน

วรากรณ์ สามโกเศศ

24 Mar 2017

Global Affairs

17 Mar 2017

โลกเอียงขวา ประชานิยม และอนาคตประชาธิปไตย

จาก Brexit สู่ทรัมป์ ถึงเลอ เพน … กระแส “ขวาประชานิยม” กำลังครองโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชวนตั้งคำถามถึงการเมืองเรื่องซ้าย-ขวา และประชานิยม ค้นหาคำอธิบายสาเหตุของ “โลกหันขวา” ทั้งในมิติวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ และสำรวจสารพัดคำถามใหม่ที่ท้าทายโลกยุคเอียงขวา

โลกจะเดินต่ออย่างไรบนทางแพร่งแห่งอนาคตของเสรีนิยมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Mar 2017

Global Affairs

7 Mar 2017

โลกที่ไม่มีไฟนอลเวอร์ชั่น : เมื่อประวัติศาสตร์ยังไม่จบ

ตลอดประวัติศาสตร์ มนุษย์พยายามเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ (ตัวเองเชื่อว่า) ดีกว่าอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องส่วนตัว หรือสังคม มาถึงวันนี้ เรากำลังต้องเปลี่ยนอีกครั้ง

สมคิด พุทธศรี

7 Mar 2017

Global Affairs

6 Mar 2017

เปิดกว้าง หรือ ปิดกั้น? ปัญหา ‘ผู้ลี้ภัย’ ในวันที่โลกหมุนวนขวา

นับแต่วันที่ทรัมป์เข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการ สถานการณ์ของ ‘ผู้ลี้ภัย’ ก็ตกอยู่ในภาวะที่ไม่แน่นอน และอาจเป็นภาพสะท้อนที่ชัดเจนของความหวาดกลัวชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวมุสลิม

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

6 Mar 2017

Global Affairs

3 Mar 2017

อะไรฆ่า คิม จอง นัม พี่ชายต่างมารดาของผู้นำเผด็จการแห่งเกาหลีเหนือ

13 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา คิม จอง นัม พี่ชายต่างมารดา ของ คิม จอง อึน ผู้นำเกาหลีเหนือ ถูกลอบสังหาร การตายที่เป็นปริศนาของ คิม จอง นัม สร้างความงงงวยให้แก่เจ้าหน้าที่อย่างยิ่ง เพราะไม่สามารถชี้ได้ว่าเหตุจูงใจในการฆาตกรรมคืออะไรกันแน่ ถึงจะบอกได้ยากว่า ‘สาเหตุ’ ที่ทำให้ คิม จอง นัม ต้องตาย คืออะไร แต่ถ้าถามว่าแล้ว ‘อะไร’ เป็นตัวการสังหารคิมจองนัม อันนี้ตอบง่ายกว่า

วชิรวิทย์ คงคาลัย

3 Mar 2017

World

28 Feb 2017

เข้าคูหากินเค้กเลือกตั้ง – ประชาธิปไตยที่ฝืดคอ

คุณอาจเคยกินเค้กมานับไม่ถ้วน ไม่ว่าจะเค้กวันเกิด เค้กงานแต่ง เค้กปีใหม่ วันครบรอบวาระต่างๆ และเค้กอีกสารพัดก้อนที่มาพร้อมการเฉลิมฉลอง แล้วเคยลอง “เค้กวันเลือกตั้ง” หรือยัง?

ภัทชา ด้วงกลัด

28 Feb 2017

World

20 Feb 2017

เราจะวัดความเป็นชาติเดียวกันจากตรงไหน ?

เมื่อกระแสชาตินิยมกำลังกลายเป็นเทรนด์สำคัญในยุคนี้ การเป็นคนชาติเดียวกันกลายเป็นเครื่องมือทางการเมืองที่หลายประเทศหยิบมาใช้ มาดูว่าแต่ละประเทศมองความเป็นชาติเดียวกันจากหลักเกณฑ์ใด

วิโรจน์ สุขพิศาล

20 Feb 2017
1 15 16

RECOMMENDED

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

World

27 Mar 2024

ทำไมเราถึงสนใจชีวิตของคนในราชวงศ์ (อังกฤษ) กันนักนะ

คอลัมน์ Popcapture เดือนนี้ชวนสำรวจความสนใจที่ผู้คนมีต่อราชวงศ์อังกฤษ อะไรที่ทำให้ราชวงศ์วินด์เซอร์เป็นที่สนใจของผู้คนกลุ่มใหญ่มากมายถึงเพียงนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

27 Mar 2024

Europe

8 Apr 2024

ถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกี 2024 กับอนาคตของพรรค AKP ที่ถูกสั่นคลอน

ยาสมิน ซัตตาร์ ชวนถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกีที่มีขึ้นเมื่อปลายเดือนมีนาคม 2024 ที่ผ่านมา ชัยชนะของพรรคฝ่ายค้าน CHP กำลังฉายภาพ ‘ขาลง’ ของพรรครัฐบาลอย่าง AKP ที่นำโดยประธานาธิบดีแอรโดก์อานหรือไม่ และผลการเลือกตั้งครั้งนี้สะท้อนอะไรในการเมืองระดับชาติ

ยาสมิน ซัตตาร์

8 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save