fbpx

Politics

31 Jan 2024

เรื่องเดือด 2024: โลกระอุ-เศรษฐกิจติดกับดัก-การเมืองไม่ทันความเปลี่ยนแปลง

สรุปความวงสนทนา 101 Round Table จับตาอนาคตไทยและโลก ปี 2024 มีเรื่องร้อนอะไรบ้างที่เราควรให้ความสำคัญในปีนี้

เจียระไน ซองทอง

31 Jan 2024

World

22 Jan 2024

โลก 20 ปีข้างหน้าเป็นอย่างไร? มองการเมืองโลกแบบมองไกล และมองประเทศไทยแบบจงเตรียมพร้อม

การเมืองโลก 20 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร และไทยต้องเตรียมพร้อมอย่างไร ชวนอ่านบทวิเคราะห์จากทีมวิจัย Foresight Team

ปิ่นนิล บ้านสวนมะปราง

22 Jan 2024

ไทย Stuck ตาม Style?

16 Jan 2024

“ผลประโยชน์แห่งชาติไม่เท่ากับผลประโยชน์รัฐบาล” ตั้งหลักใหม่ในยุคสมัยที่โลกติดหล่ม ไทยตกหลุม: พงศ์พิสุทธิ์ บุษบารัตน์

101 สนทนากับ พงศ์พิสุทธิ์ บุษบารัตน์ อาจารยคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้อำนวยการ ISIS Thailand อ่านทิศทางการเมืองโลกแล้วย้อนมองไทย ท่ามกลางความผันผวนและสิ่งที่คาดเดาไม่ได้ ไทยควรตั้งรับและตั้งหลักอย่างไรเพื่อให้ก้าวพ้นหล่มปัญหาเดิมๆ

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

16 Jan 2024

Global Affairs

12 Jan 2024

สงครามยูเครนบอกอะไรสีจิ้นผิงกับไบเดน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงนัยจากความเป็นไปของสงครามยูเครนในปัจจุบัน ที่มีต่อทิศทางการเดินหมากของสหรัฐฯ และจีน ในกรณีไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 Jan 2024

World

13 Dec 2023

COP28 : เจาะประเด็นโลกเดือดกับจักรชัย โฉมทองดี

101 สนทนากับ จักรชัย โฉมทองดี ผู้อำนวยการภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Madre Brava องค์กรขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงด้านความยั่งยืนของระบบอาหาร พูดคุยถึงเนื้อหาและประสบการณ์ตรงจากงาน COP28 ประเมินความเสี่ยงและผลกระทบจากวิกฤตโลกเดือดที่มีต่อโลกและไทยด้วยข้อมูลล่าสุด พร้อมทั้งมองหาโอกาสและทางรอดที่เท่าทันต่อภาวะวิกฤต

กองบรรณาธิการ

13 Dec 2023

Public Policy

24 Nov 2023

ความ(ไม่)มั่นคงในโลกใหม่: ทบทวนความมั่นคงของไทยในโลกไร้ระเบียบ

101 ชวนทบทวนและหานิยามของ ‘ความมั่นคง’ ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและผันผวนว่าความมั่นคงของไทยควรมีหน้าตาแบบใด ร่วมเสนอยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงที่จะนำไปสู่การป้องกันภัยคุกคามจากทั้งภายนอกและภายใน ผ่านวงสนทนาจากผู้เชี่ยวชาญหลากวงการ เก็บความจากงานเสวนา Research and Policy Dialogue: ตั้งโจทย์+ตอบอนาคต ประเทศไทยในบริบทโลกใหม่ #3 “ความ(ไม่)มั่นคงในโลกใหม่”

เจียระไน ซองทอง

24 Nov 2023

World

3 Nov 2023

วิภาษวิธีของนายทาสกับทาส: การต่อสู้ครั้งสุดท้ายระหว่างปาเลสไตน์กับอิสราเอล

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การต่อสู้ระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ ผ่านวิภาษวิธีของนายทาสกับทาสของเฮเกล และชวนมองตัวอย่างการต่อสู้ของทาสผิวดำ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

3 Nov 2023

Global Affairs

1 Nov 2023

ทำไม สหรัฐฯ ถึงควรยกเลิกการคว่ำบาตรต่อคิวบา ?

สุริยะ สว่างทองคำ บรรยายถึงเหตุผลที่สหรัฐอเมริกาควรยกเลิกนโยบายคว่ำบาตรคิวบา ซึ่งเป็นข้อเรียกร้องของประชาคมโลกมาต่อเนื่อง 30 ปี

สุริยะ สว่างทองคำ

1 Nov 2023

World

27 Oct 2023

ชวนอ่าน ‘สัตว์สงคราม’

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านหนังสือ ‘สัตว์สงคราม’ ในบริบทที่ความรุนแรงในฉนวนกาซาปะทุขึ้นมาอีกครั้ง พร้อมตั้งคำถามถึง’อนาคต’ ที่ตั้งต้นจากสงครามในปัจจุบัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

27 Oct 2023

101 in focus

20 Oct 2023

101 In Focus EP.200 ฉากทัศน์ต่อไปของความขัดแย้งอิสราเอล-ปาเลสไตน์

101 In Focus Ep.200 พาไปสำรวจความขัดแย้งระหว่างอิสราเอล-ปาเลสไตน์ที่การสู้รบกำลังคุกรุ่นอยู่ในขณะนี้ พร้อมฟังเรื่องราวของแรงงานไทยในอิสราเอลที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งนี้

กองบรรณาธิการ

20 Oct 2023

World

16 Oct 2023

ฉากทัศน์ต่อไปของอิสราเอล-ปาเลสไตน์ ความขัดแย้งที่สั่นสะเทือนระเบียบโลกใหม่: ศราวุฒิ อารีย์

7 ตุลาคม กลุ่มฮามาสเปิดฉากขีปนาวุธกว่า 5,000 ลูกใส่อิสราเอล จุดชนวนความขัดแย้งซึ่งเดิมทีก็ไม่เคยดับหายไปอยู่แล้วให้ปะทุกว่าที่เคย จนอาจนับได้ว่านี่เป็นการต่อสู้ระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ที่รุนแรงที่สุดในรอบทศวรรษ

จนถึงนาทีนี้ การสู้รบระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ยังดำเนินต่อไปโดยปราศจากทีท่าของความสงบหรือยุติลง 101 สนทนากับ ดร.ศราวุฒิ อารีย์ ผู้อำนวยการศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงเงื่อนไขและตัวแปรของความขัดแย้งที่เกิดขึ้น, ความสัมพันธ์ระหว่างอิสราเอลและรัฐอาหรับ, อนาคตของปาเลสไตน์ ตลอดจนระเบียบโลกใหม่ที่ก่อตัวขึ้นมาหลังยุคสงครามเย็น

พิมพ์ชนก พุกสุข

16 Oct 2023

World

16 Oct 2023

ขั้วโลกเหนือ ตอนที่ 2: จากน้ำท่วมสู่การระบาดครั้งใหญ่

ปิติ ศรีแสงนาม เล่าถึงพื้นที่ ‘ขั้วโลกเหนือ’ ที่ถือเป็นจุดเสี่ยงสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและโรคอุบัติใหม่ ที่อาจกระทบถึงไทย

ปิติ ศรีแสงนาม

16 Oct 2023

Delegation of the European Union to Thailand x 101

13 Oct 2023

สู่อนาคตแห่งความร่วมมือ: ความสัมพันธ์สหภาพยุโรป-ไทย ภายใต้รัฐบาลใหม่

101 ชวนทบทวนความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและไทย สำรวจพลวัตและความท้าทายที่รออยู่ในรัฐบาลใหม่ พร้อมมองโอกาสและความท้าทายร่วมระหว่างสหภาพยุโรปและไทยในอนาคต ท่ามกลางการแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างมหาอำนาจในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

13 Oct 2023

Global Affairs

11 Oct 2023

ตรรกะการเมืองโลกและการกลับมาของภูมิรัฐศาสตร์ – คุยกับ มาร์ค ศักซาร์

101 สนทนากับมาร์ค ศักซาร์ ว่าด้วยตรรกะของการเมืองโลกในวันที่ภูมิรัฐศาสตร์กลายเป็นแว่นตาหลักในการเมืองระหว่างประเทศ

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

11 Oct 2023
1 2 16

RECOMMENDED

Europe

8 Apr 2024

ถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกี 2024 กับอนาคตของพรรค AKP ที่ถูกสั่นคลอน

ยาสมิน ซัตตาร์ ชวนถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกีที่มีขึ้นเมื่อปลายเดือนมีนาคม 2024 ที่ผ่านมา ชัยชนะของพรรคฝ่ายค้าน CHP กำลังฉายภาพ ‘ขาลง’ ของพรรครัฐบาลอย่าง AKP ที่นำโดยประธานาธิบดีแอรโดก์อานหรือไม่ และผลการเลือกตั้งครั้งนี้สะท้อนอะไรในการเมืองระดับชาติ

ยาสมิน ซัตตาร์

8 Apr 2024

World

11 Apr 2024

ความล้มเหลวในการโอนย้ายธุรกิจออกจากกองทัพอินโดนีเซีย

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงความพยายามอันล้มหลวในการปฏิรูปกองทัพอินโดนีเซีย ด้านการโอนย้ายธุรกิจออกจากมือทหาร ซึ่งสะท้อนความแข็งแกร่งของอำนาจกองทัพที่แผ่อิทธิพลครอบการเมืองอินโดนีเซีย จนกิจการทหารเป็นสิ่งที่แตะต้องได้ยาก

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

11 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save