fbpx

World

26 Sep 2022

‘มรดกโลก’ อีกเวทีที่ญี่ปุ่น-เกาหลีใต้ไม่ลดราวาศอก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง การเมืองว่าด้วยความทรงจำทางประวัติศาสตร์ระหว่างญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ในกระบวนการเสนอชื่อขึ้นทะเบียน ‘มรดกโลก’ และ ‘ความทรงจำแห่งโลก’

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

26 Sep 2022

World

23 Sep 2022

รัฐพิธีศพของอาเบะในญี่ปุ่น: คำถามว่าด้วยการใช้เงินภาษี?

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงกรณีการจัดรัฐพิธีศพแก่นายอาเบะ อดีตนายกรัฐมนตรีผู้ล่วงลับของญี่ปุ่น ที่ประชาชนจำนวนมากตั้งคำถามถึงความเหมาะสมในการนำเงินภาษีจำนวนมากมาใช้จัดงาน ทั้งที่ประเทศกำลังอยู่ในช่วงฟื้นไข้

สุภา ปัทมานันท์

23 Sep 2022

Social Issues

22 Sep 2022

‘สตรี-ชีวิต-อิสรภาพ’ เมื่อผู้หญิงลุกมาเผาฮิญาบเพื่อประท้วงตำรวจศีลธรรมในอิหร่าน

สตรีในอิหร่านลุกขึ้นมาตัดผม-เผาฮิญาบเพื่อแสดงเจตจำนงต่อต้านต่อกฎระเบียบการแต่งกายอันเข้มงวดในประเทศ ภายหลังจาก มาห์ซา อามินี หญิงสาวคนหนึ่งถูกตำรวจศีลธรรมจับกุมและเสียชีวิตอย่างเป็นปริศนาจากนั้นไม่นาน ด้วยข้อหาว่าเธอแต่งกายผิดระเบียบที่รัฐกำหนด

พิมพ์ชนก พุกสุข

22 Sep 2022

World

5 Sep 2022

‘บ้านร้าง’ กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปของคนญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึง ‘บ้านร้าง’ ในญี่ปุ่น ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นปัญหาที่ต้องจัดการแก้ไข เหตุเพราะวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของบ้านร้าง พวกเขาแก้ไขเรื่องนี้อย่างไร

สุภา ปัทมานันท์

5 Sep 2022

World

29 Aug 2022

75 ปีแห่งอิสรภาพ: ก้าวย่างสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง เส้นทางและบทเรียนของการพัฒนาอินเดียตลอด 75 ปีที่ผ่านมาหลังการประกาศอิสรภาพ พร้อมมองความเป็นไปได้ของวิสัยทัศน์ที่อินเดียต้องการเดินหน้าไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วในอีก 25 ปีข้างหน้าในวาระที่จะครบรอบ 100 ปีแห่งอิสรภาพ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Aug 2022

World

26 Aug 2022

ส่องอัฟกานิสถาน 1 ปี หลังฏอลิบานครองอำนาจ กับ จรัญ มะลูลีม

1 ปีล่วงผ่านหลังการกลับขึ้นมามีอำนาจของฏอลิบาน เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และความมั่นคงในอัฟกานิสถานเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร? 101 สนทนากับ ศ.ดร.จรัญ มะลูลีม คณบดีวิทยาลัยนานาชาติอิสลามกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเกริก ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการตะวันออกกลางศึกษา ว่าด้วยสถานการณ์อัฟกานิสถานในปัจจุบันและความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลางและเอเชียใต้

กรกมล ศรีวัฒน์

26 Aug 2022

World

19 Aug 2022

17 ปีสันติภาพที่อาเจะห์: สำรวจมุมมองและท่าทีของฝ่ายต่างๆ  

วันที่ 15 สิงหาคมที่ผ่านมา คือวันครบรอบ 17 ปีสันติภาพที่อาเจะห์หลังรัฐบาลอินโดนีเซียและขบวนการอาเจะห์เอกราชตัดสินใจยุติความรุนแรงที่เกิดขึ้นมานานร่วมสามทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายฝ่ายที่มองว่าประวัติศาสตร์จะยังไม่ได้รับการชำระให้เรียบร้อยตราบใดที่เหยื่อจากความรุนแรงที่เกิดขึ้นยังไม่ได้รับการถูกพูดถึง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Aug 2022

World

16 Aug 2022

การปรับคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่น: นัยทางการเมืองหลังการลอบสังหารอาเบะ

อ่านเกมการเมืองญี่ปุ่นผ่านการปรับคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่นเมื่อ 10 สิงหาคม 2565 ที่มีหลายเรื่องซ้อนกันอยู่ ทั้งการเมืองหลังการลอบสังหารอาเบะ และการขับเคลื่อนนโยบายเพื่อแก้วิกฤตหลายด้านที่ญี่ปุ่นกำลังเผชิญ

สุภา ปัทมานันท์

16 Aug 2022

World

9 Aug 2022

บทเรียนจากวิกฤตศรีลังกากับ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

ถอดบทเรียนวิกฤตศรีลังกาที่กำลังเผชิญปัญหาทางเศรฐกิจและสังคมครั้งใหญ่ไปกับ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ซึ่งชวนขบคิดว่า อะไรที่ทำให้ประเทศซึ่งครั้งหนึ่งเป็นดาวเด่นแห่งเอเชียใต้ กลายมาเป็นประเทศที่บาดเจ็บอย่างหนักในเวลานี้

กองบรรณาธิการ

9 Aug 2022

World

1 Aug 2022

101 One-on-One Ep. 272 วิกฤตศรีลังกา: บทเรียนจากประเทศ ‘ดาวรุ่ง’ สู่ ‘ดาวร่วง’ กับศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

101 One on One ชวนศุภวิชญ์ แก้วคูนอก คอลัมนิสต์ประจำ The101.world และผู้ที่สนใจศึกษา ‘เอเชียใต้’ ในมิติสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม อ่านวิกฤตศรีลังกาเพื่อถอดบทเรียนสำหรับประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ ในอนาคต

101 One-on-One

1 Aug 2022

World

29 Jul 2022

เมื่อญี่ปุ่นนำเศรษฐกิจมาขบคิดคู่ความมั่นคง: Economic Security ในยุทธศาสตร์รัฐบาลคิชิดะ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ยุทธศาสตร์ ‘ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ’ ภายใต้รัฐบาลคิชิดะ ที่อาจหันญี่ปุ่นไปสู่เส้นทางที่การทหารกลายเป็นหลักใหญ่ของความมั่นคงมากขึ้นกว่าในอดีต

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Jul 2022

World

21 Jul 2022

คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนคำนำหน้านามได้ในอินโดนีเซีย ≠ ความหลากหลายทางเพศได้รับการยอมรับในสังคม

ในวาระทีเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาเป็นเดือนแห่งเทศกาลไพรด์ (Pride Month) อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเล่าถึงบทบาทของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT+) ในอินโดนีเซีย ที่ยังไม่ค่อยได้รับการยอมรับในอินโดนีเซียทั้งด้านสังคมและกฎหมาย นำมาซึ่งการต่อสู้ด้านสิทธิมนุษยชนต่อประเด็นนี้ที่ยาวนานกว่าสี่ทศวรรษ

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Jul 2022

World

15 Jul 2022

ผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกญี่ปุ่นและความเชื่อมั่นต่อรัฐบาล

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกญี่ปุ่นในวันที่ 10 กรกฎาคม 2565 โดยนายฟุมิโอะ คิชิดะ นายกรัฐมนตรี หัวหน้าพรรคแอลดีพี สามารถนำพรรคคว้าชัยชนะได้เสียงเกินกึ่งหนึ่ง

สุภา ปัทมานันท์

15 Jul 2022

World

15 Jul 2022

สิ้นลาย ‘ราชปักษา’: ทำความรู้จักตระกูลการเมืองดังของศรีลังกา

กลางกระแสวิกฤตศรีลังกา ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงเส้นทางการผงาดขึ้นและสิ้นสุดอำนาจของตระกูล ‘ราชปักษา’ ตระกูลการเมืองที่ครั้งหนึ่งเคยประสบความสำเร็จในการกุมอำนาจทางการเมืองแทบทั้งหมดไว้ในมือ จนกระทั่งเมื่อวิกฤษเศรษฐกิจปะทุขึ้น

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Jul 2022

World

13 Jul 2022

สิ้นอาเบะ สะเทือนญี่ปุ่น?: ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอดีตนายกฯ อาเบะ

การลอบสังหารผู้นำทางการเมืองมีเหตุจากอะไร? เกิดจากแรงจูงใจทางการเมืองหรือความไม่พอใจส่วนตัว? อะไรคือความท้าทายที่รัฐบาลพรรค LDP ภายใต้การนำของคิชิดะต้องเผชิญเมื่อปราศจากอิทธิพลอาเบะ? แนวทางการต่างประเทศสายแข็งแบบอาเบะจะเปลี่ยนไปหรือไม่? 101 ชวนมอง ‘ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอาเบะ’ ผ่านการวิเคราะห์ของ นภดล ชาติประเสริฐ และกิตติ ประเสริฐสุข สองนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านญี่ปุ่นศึกษา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

13 Jul 2022
1 4 5 6 13

MOST READ

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

29 Mar 2024

‘เกาหลีอาจไม่ใช่สวรรค์ของแรงงานข้ามชาติ’ สำรวจความทุกข์ร้อนของนักล่าเงินวอนในดินแดนที่รัฐไม่เหลียวแล

จากประเด็นผีน้อยที่ไม่เคยหายไปจากหน้าปัดสื่อไทย 101 ชวนเปิดไปสู่ประเด็นที่ใหญ่กว่า ว่าด้วยนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติของเกาหลีใต้ สำรวจความทุกข์ยากของแรงงานในรัฐบาล ‘ขวาจัด’ พร้อมพูดคุยกับสหภาพแรงงานข้ามชาติในเกาหลีถึงเส้นทางการต่อสู้กับรัฐและนายจ้าง

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save