fbpx

Asia

19 Feb 2023

‘ผัดกะเพรามะเขือเทศ’ และการเดินทางของกองพล 93

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนไขปริศนาผัดกะเพรามะเขือเทศที่ไต้หวัน ซึ่งเป็นไปได้ว่าเชื่อมโยงกับกองพล 93 จากยูนนานที่ล่าถอยจนมาตั้งรกรากทางภาคเหนือของไทย

มัธธาณะ รอดยิ้ม

19 Feb 2023

World

26 Jan 2023

อินเดีย 2023: การเมืองร้อน เศรษฐกิจรุ่ง และการแสดงแสนยานุภาพการต่างประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนจับตามอง ‘อินเดีย’ ในปี 2023 ปีที่จะพาอินเดียไปสู่จุดเปลี่ยนสำคัญ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Jan 2023

World

10 Jan 2023

BIMSTEC: ที่ซึ่งเอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้ (ยังไม่ได้) มาบรรจบกัน

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงความคืบหน้าของเป้าหมายที่ BIMSTEC อยากจะบรรลุผล ที่ยังห่างไกลจากเป้าหมายอยู่พอควร เพราะปัญหาทั้งจากกลุ่มประเทศสมาชิกและความสามารถของผู้นำประเทศ

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

10 Jan 2023

World

22 Dec 2022

การเมืองซ้ายๆ กับผลเลือกตั้งของเนปาลครั้งล่าสุด

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง การเลือกตั้งครั้งสำคัญในเนปาลหลังวิกฤตการสลับขั้วการเมือง ซึ่งนำไปสู่การสลายการผูกขาดทางการเมืองของฝ่ายซ้าย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

22 Dec 2022

World

21 Dec 2022

บันทึกประวัติศาสตร์ประจำปีแบบย่นย่อ: ‘การต่อสู้และสงคราม’ (戦) อักษรคันจิแห่งปี 2022 ของญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงคำว่า ‘เซน’ อักษรคันจิแห่งปี 2022 ของญี่ปุ่น ที่หมายถึงการต่อสู้และสงคราม สะท้อนภาพที่เกิดขึ้นทั้งปีในญี่ปุ่นที่ได้รับผลกระทบจากสงครามในยูเครนและต้องต่อสู้กับวิกฤตเศรษฐกิจ

สุภา ปัทมานันท์

21 Dec 2022

World

29 Nov 2022

ดวงจันทร์ ดาวอังคาร และขีปนาวุธ: การปรับเปลี่ยนนโยบายอวกาศของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง การปรับเปลี่ยนนโยบายและการกระโดดเข้าสู่มสมรภูมิการแข่งขันทางอวกาศของอินเดีย ในบริบททางภูมิรัฐศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Nov 2022

Interviews

24 Nov 2022

ยาสมิน ซัตตาร์ และปลายทางของการชุมนุม ‘สตรี-ชีวิต-อิสรภาพ’ ในอิหร่านที่อาจไม่ง่ายนัก

ภายหลังการเสียชีวิตของ มาห์ซา อามินี หญิงสาวที่ถูกตำรวจศีลธรรมจับกุมและทำร้ายจนเสียชีวิตเนื่องจากไม่สวมฮิญาบให้ตรงตามข้อกำหนด ประชาชนก็ลุกฮือขึ้นประท้วงในอิหร่านเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม และกลายเป็นการชุมนุมครั้งใหญ่ จนล่าสุดสมาชิกรัฐสภาลงนามเรียกร้องให้มีการออกโทษประหารชีวิตแก่ผู้ชุมนุม

101 สนทนากับ ผศ. ดร.ยาสมิน ซัตตาร์ ว่าด้วยการประท้วงในอิหร่าน ทิศทางการต่อสู้ในอิหร่าน และความหวังของเหล่าผู้ประท้วงในตะวันออกกลาง

พิมพ์ชนก พุกสุข

24 Nov 2022

World

23 Nov 2022

เกิดน้อย เลือกงาน คนอยากกลับบ้าน และโควิดเอ็ฟเฟ็กต์: มองปัญหาการขาดแคลนแรงงานในญี่ปุ่น 

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงภาวะขาดแคลนแรงงานในญี่ปุ่น ที่มีสาเหตุหลายอย่าง นอกเหนือไปจากโควิด-19

สุภา ปัทมานันท์

23 Nov 2022

World

22 Nov 2022

“การรับราชการทหารคือหน้าที่ศักดิ์สิทธิ์และความยุติธรรม” ข้อถกเถียงละเว้นเกณฑ์ทหารเกาหลี ในวันที่ซอฟต์พาวเวอร์คือการรับใช้ชาติ?

101 สำรวจข้อถกเถียงข้อเสนอละเว้นเกณฑ์ทหารเกาหลีต่อศิลปินที่สร้างชื่อเสียงให้ประเทศ ในโลกสมัยใหม่ รัฐบาล กองทัพ และประชาชนมีความคิดเห็นต่อการเกณฑ์ทหารอย่างไรบ้าง ติดตามได้จากบทความนี้

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

22 Nov 2022

World

17 Nov 2022

ตั้งแต่สิทธิมนุษยชนจนถึงธงสีรุ้ง มหากาพย์ดราม่า ณ กรุงกาตาร์ใน World Cup 2022

การมาถึงของฟุตบอลโลก 2022 ที่กาตาร์มาพร้อมข้อถกเถียงมากมาย นับตั้งแต่สภาพนักเตะที่น่วมไปทั้งตัวจากการตะบี้ตะบันลงเตะให้สโมสรและเวิลด์คัพ, ประเด็นการละเมิดสิทธิแรงงานข้ามชาติ, ธงสีรุ้งที่เคยจ่อจะถูกแบน ไปจนถึงวัฒนธรรมการดื่มแอลกอฮอล์ในกาตาร์ที่อาจไม่เป็นที่คุ้นเคยของแฟนบอลส่วนใหญ่เท่าไหร่

พิมพ์ชนก พุกสุข

17 Nov 2022

World

3 Nov 2022

นโยบายต่างประเทศแบบ ‘ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด’ ของอินเดียในวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงนโยบายการต่างประเทศแบบ ‘ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด’ ของอินเดีย ซึ่งสะท้อนให้เห็นมาตลอดในการตัดสินใจสำคัญในระดับระหว่างประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

3 Nov 2022

Asia

24 Oct 2022

จากซินเจียง ถึง SCO ตอนที่ 2: จาก SCO สู่ Global Security Initiatives (GSI)

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงพัฒนาการขององค์กรความร่วมมือเซียงไฮ้ (SCO) ทั้งด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง จนเป็นที่จับตาบนสนามภูมิรัฐศาสตร์โลก

ปิติ ศรีแสงนาม

24 Oct 2022

World

7 Oct 2022

‘อดอยากปากจมน้ำ’ ชีวิตในอนาคตอันใกล้ (ฉาก 2)

ในโลกที่เต็มไปด้วยความผันผวน ปัญหาการปรับตัวเพื่อรับมือกับภาวะน้ำท่วมเมือง รวมทั้งภัยแล้งและไฟป่า ก็เป็นหนึ่งในปัญหาที่รัฐบาลหลายประเทศให้ความสำคัญ หนึ่งในนั้นคือรัฐบาลบังคลาเทศและเปรู ที่ใช้แปลงปลูกผักลอยน้ำและแนวปะการังหอยนางรมรับมือปัญหา!

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Oct 2022

Asia

29 Sep 2022

จากซินเจียง ถึง SCO (ตอนที่ 1): จากเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ สู่การก่อกำเนิด

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงการเกิดขึ้นขององค์กรความร่วมมือเซียงไฮ้ (SCO) อันมีจุดเริ่มจากความเปราะบางทางความมั่นคงในพื้นที่มณฑลซินเจียงของจีน

ปิติ ศรีแสงนาม

29 Sep 2022

World

28 Sep 2022

เรื่องวุ่นๆ ทางประวัติศาสตร์ของการเริ่มความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-อินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ปริศนาและเรื่องวุ่นๆ ในช่วงเริ่มต้นการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-อินเดีย ทั้งที่อินเดียยังไม่ได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Sep 2022
1 3 4 5 13

MOST READ

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

29 Mar 2024

‘เกาหลีอาจไม่ใช่สวรรค์ของแรงงานข้ามชาติ’ สำรวจความทุกข์ร้อนของนักล่าเงินวอนในดินแดนที่รัฐไม่เหลียวแล

จากประเด็นผีน้อยที่ไม่เคยหายไปจากหน้าปัดสื่อไทย 101 ชวนเปิดไปสู่ประเด็นที่ใหญ่กว่า ว่าด้วยนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติของเกาหลีใต้ สำรวจความทุกข์ยากของแรงงานในรัฐบาล ‘ขวาจัด’ พร้อมพูดคุยกับสหภาพแรงงานข้ามชาติในเกาหลีถึงเส้นทางการต่อสู้กับรัฐและนายจ้าง

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save