fbpx

Asia

15 Jan 2019

ถอดรหัสบทสัมภาษณ์นายกรัฐมนตรีอินเดีย ก่อนสู้ศึกเลือกตั้ง 2019

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์การให้สัมภาษณ์ของ นเรนทรา โมดี นายกรัฐมนตรีอินเดีย เมื่อวันที่ 1 มกราคมที่ผ่านมา ซึ่งถูกตั้งข้อสังเกตว่า เป็นการพีอาร์ตัวเองเพื่อปูทางสู่การเลือกตั้ง มากกว่าการถามตอบข้อสงสัยที่สังคมอยากรู้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Jan 2019

โลก-อุษาคเนย์

25 Dec 2018

‘พิพิธภัณฑ์’ ไม่ใช่ที่เก็บของ ไม่ใช่ของที่เก็บ

ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงประสบการณ์จากการไปชม ‘พิพิธภัณฑ์’ ต่างๆ ทั่วโลก พร้อมชำแหละแก่นและวิธีการนำเสนออันหลากหลาย ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า พิพิธภัณฑ์มิได้เป็นเพียงที่เก็บของเก่า และไม่ได้ ‘น่าเบื่อ’ หรือ ‘แห้งแล้ง’ อย่างที่คนไทยเราคุ้นชินกัน

ยุกติ มุกดาวิจิตร

25 Dec 2018

World

19 Dec 2018

หมดยุคร้องเพลงวิ่งข้ามเขา หนังอินเดียแบบเก่ากำลังเปลี่ยน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘หนังอินเดีย’ ยุคใหม่ ที่ไม่ได้มีแค่การวิ่งข้ามภูเขาและเต้นรำทำเพลงอีกต่อไป ทว่าเป็นกลไกสำคัญในการวิพากษ์วิจารณ์และเปลี่ยนแปลงสังคม ไปจนถึงการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ๆ ให้แก่ประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

19 Dec 2018

World

27 Nov 2018

อนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลก ภาพหวังความเป็นหนึ่งเดียวของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘The Statue of Unity’ อนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลกอันใหม่ พร้อมอ่านนัยยะทางการเมืองทั้งภายในและระหว่างประเทศของอินเดียที่มาพร้อมกับอนุสาวรีย์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

27 Nov 2018

World

29 Oct 2018

เมื่อภูฏานหันซ้าย ในการเลือกตั้งครั้งที่ 3

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงการเลือกตั้งครั้งล่าสุดของภูฏาน ซึ่งจบลงด้วยการขึ้นสู่อำนาจของพรรคฝ่ายซ้ายสังคมนิยมประชาธิปไตย พร้อมวิเคราะห์ความท้าทายทางการเมืองทั้งภายในและภายนอกที่รัฐบาลใหม่ต้องเผชิญ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Oct 2018

Economy

9 Oct 2018

7 บทเรียนการพัฒนาไต้หวัน

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงเส้นทางการพัฒนาประเทศไต้หวัน และกลั่นไอเดียจากการระดมสมองกันของนักธุรกิจและผู้บริหารระดับสูง ออกมาเป็น 7 บทเรียนสำคัญที่สังคมไทยควรเรียนรู้

ปิติ ศรีแสงนาม

9 Oct 2018

โลก-อุษาคเนย์

8 Oct 2018

ปากีสถาน ในฐานะดินแดนพุทธศาสนา

ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงร่องรอยของพุทธศาสนาที่ปรากฏอยู่ในสังคมมุสลิมอย่างปากีสถาน ตามแกะรอยจากหนังสือเล่มสำคัญอย่าง ‘มิลินทปัญหา’ ไปจนถึงศาสนสถานเลื่องชื่ออย่าง ‘ตักสิลา’

ยุกติ มุกดาวิจิตร

8 Oct 2018

World

1 Oct 2018

แหวกม่านวัฒนธรรม ส่องสถานภาพสตรีในสังคมอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก สำรวจที่มาที่ไปของ ‘สังคมชายเป็นใหญ่’ ในอินเดีย ที่ได้รับอิทธิพลสำคัญมาจากมหากาพย์อันเลื่องชื่อ พร้อมฉายภาพปัจจุบันที่ภาวะดังกล่าวเริ่มสั่นคลอน โดยมีหมุดหมายสำคัญจากการที่ อินทิรา คานธี ได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกในประวัติศาสตร์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

1 Oct 2018

โลก-อุษาคเนย์

5 Sep 2018

พหุสังคมอิสลามในปากีสถาน

ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงความเป็นพหุสังคมในปากีสถาน ดินแดนที่แม้จะประกาศตนว่าเป็นประเทศมุสลิม แต่กลับเปิดกว้างและผสานความหลากหลายทางชาติพันธุ์และศาสนาไว้ได้อย่างน่าสนใจ

ยุกติ มุกดาวิจิตร

5 Sep 2018

Interviews

3 Sep 2018

ปรากฏการณ์จีนบุกไทย – ไชน่าทาวน์ใหม่ในกรุงเทพฯ

คุยกับ ดร.ชาดา เตรียมวิทยา ว่าด้วยปรากฏการณ์ ‘จีนใหม่บุกไทย’ ซึ่งไม่ใช่แค่เรื่องการท่องเที่ยว แต่คือการเข้ามาลงหลักปักฐานระยะยาว พร้อมหาลู่ทางในการลงทุนด้านต่างๆ จากทรัพยากรของไทย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

3 Sep 2018

World

28 Aug 2018

‘Leh Ladakh’ จากสมรภูมิสู่แหล่งท่องเที่ยวระดับโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงประวัติศาสตร์ของ ‘Lek Ladakh’ แหล่งท่องเที่ยวสำคัญของอินเดีย ซึ่งเคยเป็นสมรภูมิความขัดแย้ง 3 ฝ่าย คือจีน อินเดีย และปากีสถาน ก่อนจะพบจุดเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Aug 2018

World

15 Aug 2018

โมดี และอนาคตของกระแสนิยมขวาจัดในอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จของ ‘นเรนทรา โมดี’ และพรรคบีเจพีของอินเดีย พรรคชาตินิยมขวาจัดซึ่งชนะเลือกตั้งแบบพลิกโผในปี 2014 พร้อมประเมินผลงานที่ผ่านมา ซึ่งอาจมีผลต่อการเลือกตั้งครั้งใหม่ในปี 2019

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Aug 2018

โลก-อุษาคเนย์

24 Jul 2018

อินเดียนอก / ก่อนอินเดีย

ยุกติ มุกดาวิจิตร พาไปเยือน ‘โมเฮนโจ-ดาโร’ ใจกลางของ ‘อารยธรรมสินธุ’ ที่สาบสูญ พร้อมสำรวจแง่มุมทางประวัติศาสตร์ในดินแดนเอเชียใต้ ซึ่งหยั่งรากมาจากอารยธรรมเก่าแก่แห่งนี้

ยุกติ มุกดาวิจิตร

24 Jul 2018

โลก-อุษาคเนย์

25 Jun 2018

อัสดงคต ณ บูรพทิศ

ยุกติ มุกดาวิจิตร ตั้งคำถามกับความเป็นตะวันตก-ความเป็นตะวันออก ผ่านการเดินทางเยือนปากีสถาน สำรวจวัฒนธรรมลุ่มน้ำสินธุ และการพินิจพุทธศิลป์คันธาระ

ยุกติ มุกดาวิจิตร

25 Jun 2018

Asia

30 Jun 2017

One Belt One Road อินเดียคิดยังไงกับอิทธิพลจีนในเอเชียใต้

ยุทธศาสตร์ ‘One Belt One Road’ หรือเส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21 ของจีน มีภูมิภาคเอเชียใต้เป็นหนึ่งในหมุดหมายสำคัญ ทว่าด่านหินที่จีนต้องผ่านไปให้ได้นั้น ก็คืออินเดียซึ่งเป็น ‘พี่เบิ้ม’ แห่งภมูิภาค การเดินหมากของทั้งสองประเทศเป็นอย่างไร และมีวาระอะไรที่ซ๋อนเร้นอยู่บ้าง
บทความนี้มีคำตอบ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

30 Jun 2017
1 12 13

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Social Issues

2 Apr 2024

สหภาพแรงงานการศึกษาในสิงคโปร์: พลังต่อต้านในยุคอาณานิคมที่ถูกเลือกปฏิบัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการสหภาพแรงงานครูในสิงคโปร์ ตั้งแต่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา จนกระทั่งแยกตัวออกมาในฐานะชาติใหม่ พร้อมสำรวจเส้นทางการต่อสู้ที่หยั่งรากมาตั้งแต่ช่วงอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

2 Apr 2024

World

29 Apr 2024

คิชิดะเยือนสหรัฐฯ: พลิกประวัติศาสตร์หน้าใหม่ หรือเพียงอ่อนไหวในปีผลัดผู้นำ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การเยือนสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการครั้งแรกของนายกฯ ฟุมิโอะ คิชิดะ ท่ามกลางบรรยากาศโลกอันร้อนระอุด้วยความขัดแย้งหลายแนวหน้า การยกระดับยุทธศาสตร์ความมั่นคงร่วมกันของญี่ปุ่นและสหรัฐฯ สะท้อนนัยใดบ้างต่อระเบียบโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save