fbpx

Documentary

12 May 2020

ราษฎร์ลำเค็ญบนราชดำเนิน

สำรวจชีวิตผู้คนบนถนนราชดำเนิน ถนนข้าวสาร รามบุตรี หลังวิกฤตโควิดพัดความเปลี่ยนแปลงในชีวิตมาด้วย คนไร้บ้าน แม่ค้าร้านตลาด ไปจนถึงเจ้าของกิจการ อยู่กันอย่างไรในภาวะเช่นนี้

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

12 May 2020

Business

11 May 2020

Readjust ปรับตัวเพื่อเดินหน้าต่อไป มองโลกธุรกิจใหม่หลัง COVID-19 กับ อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

101 ชวนสำรวจโลกธุรกิจใหม่หลัง COVID-19 กับอิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ มองการปรับตัวครั้งสำคัญของแวดวงธุรกิจต่างๆ ในช่วงที่ผ่านมาและที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

11 May 2020

Global Affairs

11 May 2020

มนุษย์โควิด กับ มนุษย์อโควิด: การแบ่งชนชั้นใหม่ในโลกระบาด?

อาร์ม ตั้งนิรันดร ชวนมองอนาคตที่อาจเกิดขึ้นในยุคโควิด-19 ที่โลกและประชากรถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ ‘กลุ่มโควิด’ และ ‘กลุ่มอโควิด’

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 May 2020

Spotlights

9 May 2020

101 In Focus Ep.38 : 8 นักคิด 8 จักรวาลความคิด มองโลกยุค COVID-19

101 in Focus ชวนคุณผู้ฟังสำรวจส่วนหนึ่งของแนวคิดและข้อถกเถียงจาก 8 นักคิดชั้นนำระดับโลก ว่าวิกฤต COVID-19 เผยให้เห็นอะไร และโลกหลัง COVID-19 เรามีทางเลือกอะไรรออยู่บ้าง

กองบรรณาธิการ

9 May 2020

Talk Programmes

8 May 2020

101 One-On-One Ep.135 : มองความจริงของสื่อ ผ่านข่าวลวงในยุคโควิด

101 ชวน วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง หัวหน้าโครงการอินเทอร์เน็ตศึกษา สกสว. และนักวิจัยโครงการสำรวจองค์ความรู้ด้านข่าวลวง ข้อมูลบิดเบือน และข้อมูลผิดพลาด และกรณีศึกษาด้านสุขภาพของไทย (ร่วมกับ สสส.) มาคุยว่าด้วยเรื่องข่าวลวงในยุคโควิด ข่าวลวงเกี่ยวกับสุขภาพ และชวนมองการทำงานของสื่อไทยในปัจจุบัน ว่าแม้แต่สื่อเองก็ตกเป็นเหยื่อของข่าวลวงเองหรือไม่ และปัญหาอื่นๆ ของสื่อในปัจจุบัน

101 One-on-One

8 May 2020

Business

8 May 2020

อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ: ทุกข์ของแรงงานในความคลุมเครือของ ‘เศรษฐกิจแพลตฟอร์ม’

101 คุยกับ อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ ซึ่งทำวิจัยเรื่องแรงงานในเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม และเห็นว่ารัฐต้องเริ่มศึกษาปัญหาและมีบทบาทในการกำกับดูแล

วจนา วรรลยางกูร

8 May 2020

Spotlights

7 May 2020

‘โรคใหม่’ สร้าง ‘โลกแห่งการเรียนรู้ใหม่’ : อนาคตการศึกษาไทยยุคหลัง COVID-19

มองอนาคตการศึกษาไทยในวันที่โรคระบาดเข้ามาเปลี่ยนชีวิตคนทุกคน ใน 101 Public forum “โรคใหม่ – โลกใหม่ – การเรียนรู้ใหม่ : อนาคตการศึกษาไทยยุคหลัง COVID-19”

กองบรรณาธิการ

7 May 2020

Economic Focus

7 May 2020

เปิดเมืองอย่างไรด้วยหลักคิดทางเศรษฐศาสตร์เพื่อไม่ให้ต้องปิดซ้ำสอง?

101 ชวนอ่านกลยุทธ์การเปิดเมืองผ่านสายตา 5 นักเศรษฐศาสตร์ -วราพงศ์ วงศ์วัชรา, ชัญญา พันธจารุนิธิ, สรา ชื่นโชคสันต์, รุจา อดิศรกาญจน์ และ สุพริศร์ สุวรรณิก – เพื่อเพื่อหาทางเลือกที่ ‘เหมาะสมที่สุด’ สำหรับอนาคตอันใกล้

กองบรรณาธิการ

7 May 2020

Economic Focus

6 May 2020

ตัดแว่นเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม มองสังคมไทยในยุค COVID-19 กับ ธานี ชัยวัฒน์

มองวิกฤตโควิด-19 ผ่าน “เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม” กับ ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์ พฤติกรรมและข้อจำกัดของคนไทยในการตอบรับมาตรการสาธารณสุขเป็นอย่างไร เราใช้ความรู้เรื่องนี้มาร่วมออกแบบนโยบายสาธารณะเพื่อรับมือโควิดได้อย่างไร

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 May 2020

Thai Politics

6 May 2020

คนเห็นศพ แต่ไม่เห็นคนฆ่าตัวตาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถามถึงท่าทีต่อความตายจากโรคระบาดที่ไม่ได้มีแค่ผู้ติดเชื้อโดยตรง แต่ยังมีคนที่ได้รับผลกระทบและใช้การฆ่าตัวตายเป็นทางออก

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

6 May 2020

Talk Programmes

5 May 2020

101 One-on-One ep. 133 “โลกธุรกิจใหม่หลัง COVID-19” กับ อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

101 ชวนสำรวจโลกธุรกิจใหม่หลัง COVID-19 กับอิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ ว่าวิกฤตครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อวิถีธุรกิจในระบบทุนนิยมโลกาภิวัตน์อย่างไร ธุรกิจทั้งเก่าและใหม่ต้องปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงใหญ่อย่างไร อุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่เข้าไป disrupt อุตสาหกรรมอื่น ตัวมันเองถูก disrupt อย่างไร

101 One-on-One

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

“คนก็ต้องการการดูแลจิตใจ”: มองปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19 กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ สนทนา กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ว่าด้วยปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

‘สองนครา หนึ่งธาตุแท้’ : อเมริกายุคโควิด-19 บุก

เมื่อ COVID-19 จู่โจมสหรัฐอเมริกาซึ่งมีหน้าตาแบบทรัมป์ ก็ยิ่งเผยให้เห็นปัญหาโครงสร้างอำนาจการเมืองและเศรษฐกิจที่ดำรงอยู่ ชวนอ่านบทวิเคราะห์ของธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

คุยกับ นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ : เมื่อเด็กและครอบครัวคือจุดเปราะบางท่ามกลางวิกฤต

เมื่อเด็กและครอบครัวคือจุดเปราะบางที่สุดของสถานการณ์โรคระบาด อะไรคือมาตรการเพื่อไม่ให้ความเปราะบางแตกร้าวลง

ธิติ มีแต้ม

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

หนีเสือปะจระเข้: สถานการณ์COVID-19 ของผู้ลี้ภัยชาวเวเนซุเอลาในโคลอมเบีย

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงปัญหาที่พรมแดนเวเนซุเอลา-โคลอมเบีย ที่ผู้ลี้ภัยชาวเวเนซุเอลาเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุข และรัฐบาลเวเนซุเอลาเองก็ไม่พร้อมรับประชาชนของตัวเองกลับ

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

5 May 2020
1 32 33 34 59

MOST READ

Public Policy

12 Apr 2024

‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ คนไทยได้อะไร? เสียอะไร?

101 PUB ชวนอ่านบทวิเคราะห์นโยบาย ‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ หลังรัฐบาลแถลงรายละเอียด 10 เม.ย. 2024 การแจกเงิน 10,000 บาทนี้ คนไทยจะได้และเสียอะไรบ้าง

ฉัตร คำแสง

12 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

Public Policy

2 Apr 2024

กินยาต้านเศร้า vs เข้าวัดปฏิบัติธรรม: สองทางที่เลือกไม่ค่อยได้ของคนซึมเศร้า

เมื่อการเยียวยาจิตใจด้วยชีวการแพทย์ด้านเดียวอาจไม่พอและไม่ยั่งยืน แต่ทางเลือกอื่น เช่น การพบนักจิตวิทยาการปรึกษาก็ยังเป็นเรื่องยากในประเทศไทย

สรัช สินธุประมา

2 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save