Education Spotlight
Education Spotlight
เปิดประเด็นการศึกษาไทยที่เป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง
โดยเฉพาะปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การ
จัดการเรียนการสอน การออกแบบหลักสูตรวิชาต่างๆ
ในรั้วมหาวิทยาลัย
Filter
Sort
เมื่อโครงสร้างประเทศไทยกำลังทำลายการเรียนการสอนศิลปะ : วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร
101 ชวน ผศ.วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร อาจารย์ประจำสาขาสื่อผสม คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาศิลปากร มาร่วมไขโจทย์การเรียน-การสอนศิลปะที่ว่าด้วยความเข้าใจตัวเองและสังคม ไปจนถึงปัญหาที่ผู้สอนและผู้เรียนต้องเจอในภาวะ ‘กึ่งพิกลพิการ’ ของโลกศิลปะร่วมสมัยไทย

กองบรรณาธิการ
11 Oct 2022101 In Focus Ep.147: ‘Error Childhood’ การเรียนรู้ที่หล่นหายของเด็กเล็กไทย
101 In Focus คุยกันเรื่องปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของเด็กปฐมวัย ผลร้ายที่จะตกค้างต่อพัฒนาการของเด็ก บทเรียนการจัดการการศึกษาในภาวะวิกฤต จนถึงทางออกที่จะฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็ก

กองบรรณาธิการ
23 Sep 2022เข้าใจ ‘วิกฤตการเรียนรู้ถดถอย’ บาดแผลจากโรคระบาดที่ตอกย้ำปัญหาใต้พรมการศึกษาไทย
สรุปความจาก 101 Policy Forum #18 ฟื้นฟูการศึกษา พาเด็กไทยออกจากวิกฤตการเรียนรู้ ที่ชวนกันมาเสนอการแก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอย

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์
20 Sep 2022‘การศึกษาไทยในวันที่โรงเรียนไร้อำนาจ’ – กระจายอำนาจการศึกษาคืนสู่โรงเรียน กับ สุกรี นาคแย้ม
101 สนทนากับ สุกรี นาคแย้ม ว่าด้วยโครงสร้างระบบการจัดการบริหารระบบการศึกษาอันเป็นเหตุให้โรงเรียนไม่มีอำนาจอย่างแท้จริง และแนวทางในการกระจายอำนาจการศึกษาที่ทำให้การศึกษาเจริญงอกงามได้อย่างยั่งยืนและทั่วถึง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
16 Sep 2022เด็กเล็กไทยสูญเสียการเรียนรู้แค่ไหนจากโควิด-19?
โควิด-19 ทำให้โลกชะงัก และทำให้การศึกษาต้องสะดุด โดยเฉพาะกับเด็กปฐมวัยที่ต้องหยุดไปโรงเรียนจนเกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอย

วจนา วรรลยางกูร
13 Sep 2022‘จับดินสอผิด-ไม่มีสมาธิ-เขียนหนังสือกลับด้าน’ : มอง ‘การเรียนรู้ถดถอย’ ในเด็กเล็ก ผ่านสายตาครู-ผู้ปกครอง
จากภาวะโควิด-19 ทำให้สถานศึกษาต้องหันไปใช้ระบบเรียนออนไลน์ชั่วคราว ยังผลให้เกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือ Learning Loss ในเหล่าเด็กปฐมวัยที่ต้องอยู่บ้านเป็นเวลานาน
101 ชวนสำรวจประเด็นนี้ผ่านสายตาของครูกับผู้ปกครองเด็กเล็ก

พิมพ์ชนก พุกสุข
8 Sep 2022Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย
Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย
101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถึงความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

กองบรรณาธิการ
7 Sep 2022101 Policy Forum #18 ฟื้นฟูการศึกษา พาเด็กไทยออกจากวิกฤตการเรียนรู้
101 Policy Forum เปิดเวทีถกเถียงเรื่องการฟื้นฟูการศึกษาจากวิกฤตการเรียนรู้ ร่วมตีโจทย์การศึกษาไทยหลังโควิด-19 หานโยบายที่จะนำพาเด็กไทยออกจากวิกฤตการเรียนรู้ และข้อเสนอการแก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของเด็กปฐมวัย

กองบรรณาธิการ
6 Sep 2022วีระชาติ กิเลนทอง : เด็กเล็กไทยกับ ‘Learning Loss’ บาดแผลทางการศึกษาที่รอเยียวยา
101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง เรื่องความพร้อมในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย ความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

วจนา วรรลยางกูร
5 Sep 2022มนต์เสน่ห์ของประวัติศาสตร์ คือการถกเถียงกับอดีตไม่รู้จบ: ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ในวันที่โลกเรียกร้องการทำความเข้าใจมนุษย์และสังคมมากกว่าที่เคย ทิศทางการศึกษาประวัติศาสตร์กำลังมุ่งไปทางไหน? หนทางใดที่นักประวัติศาสตร์จะเปิดคำอธิบายใหม่ๆ เพื่อเข้าใจความเป็นมนุษย์ได้มากยิ่งขึ้น? การเรียนการสอนประวัติศาสตร์ต้องปรับเปลี่ยนอย่างไร? และวงการประวัติศาสตร์จะเดินหน้าต่อไปในอนาคตได้อย่างไร? 101 สนทนากับ ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ในประเด็น ‘ประวัติศาสตร์ต้องรอด!’

กองบรรณาธิการ
2 Aug 2022“เพราะนักกฎหมายต้องเข้าใจบริบทของสังคม” อ่าน 6 ข้อเสนอปฏิรูปนิติศาสตร์ไทยให้ก้าวไกลทันโลก
101 ชวนรับฟังข้อเสนอปฏิรูปนิติศาสตร์จากคนหลายแวดวง เพื่อหาทางนำไปสู่การสร้างกระบวนการยุติธรรมที่ไม่ใช่แค่กระบวนการ แต่เป็นสิ่งที่มอบความยุติธรรมได้อย่างแท้จริง

กองบรรณาธิการ
17 Jul 2022ต้องสร้างนักกฎหมายที่รู้รอบ-กล้าหาญทางจริยธรรม: มองปัญหานิติศาสตร์จากคนกระบวนการยุติธรรม
101 ชวนอ่านความเห็นการปฏิรูปนิติศาสตร์จากมุมมองของคนในกระบวนการยุติธรรม เช่น กฤษฎีกา อัยการ ผู้พิพากษา ตำรวจ และทหาร

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์
11 Jul 2022รื้อกระบวนการผลิตนักกฎหมาย – จุดตั้งต้นการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
101 เก็บประเด็นจาก ‘101 Public Forum : ปฏิรูปการเรียนการสอนนิติศาสตร์สร้างนักกฎหมายไทยในโลกสมัยใหม่’ ที่ชวนคนหลากหลายแวดวงพูดคุยถึงแนวทางการปฏิรูประบบการเรียนการสอนนิติศาสตร์ เพื่อสร้างนักกฎหมายสำหรับ ‘โลกใหม่’

กาญจนา ปลอดกรรม
8 Jul 2022ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษานิติศาสตร์แห่งชาติเบื้องต้น: ถอดรื้อการเรียนกฎหมายแบบ ‘เนติบัณฑิตไทย’
สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เขียนถึง ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษานิติศาสตร์ ในส่วนโครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรีและการศึกษาอบรมกฎหมายชั้นเนติบัณฑิต เพื่อผลิตนักกฎหมายให้เป็นผู้พิทักษ์สิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ได้อย่างแท้จริง

สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ
1 Jul 2022“ต้องออกไปนอกอาณาจักรกฎหมาย” เมื่อสังคมไม่ได้ต้องการแค่นักท่องฎีกา
101 รวบรวมความเห็นจากมุมมองสิทธิมนุษยชน เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และมานุษยวิทยา ในการรับฟังความเห็นของคณะอนุกรรมการสภานิติศึกษาแห่งชาติ เพื่อให้เห็นข้อเสนอการปฏิรูปการเรียนการสอนนิติศาสตร์ที่หลากหลาย

วจนา วรรลยางกูร
1 Jul 2022ปฏิรูปการเรียนการสอนนิติศาสตร์ สร้างนักกฎหมายไทยในโลกสมัยใหม่
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ 101 ชวนคุณสำรวจแนวทางการปฏิรูประบบการเรียนการสอนนิติศาสตร์ เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดการศึกษานิติศาสตร์ระดับสากล
