fbpx

101 One-on-One

6 Apr 2020

เพราะ COVID-19 ทำให้เราออกแบบชีวิตและธุรกิจอย่างสร้างสรรค์ กับ เมษ์ ศรีพัฒนาสกุล

101 ชวน เมษ์ ศรีพัฒนาสกุล ผู้แปลหนังสือ “designing your life” มองการออกแบบชีวิตและธุรกิจด้วยแนวคิด Design Thinking ในยุค Covid-19

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

6 Apr 2020

Issue of the Age

6 Apr 2020

ตีความสถานการณ์ไทยจากข้อมูล COVID-19 ตัวเลขบอกอะไรเรา?

วรรษกร สาระกุล สำรวจข้อมูลสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย และชวนทำความเข้าใจความหมายที่อยู่เบื้องหลังตัวเลข ว่าสถานการณ์เป็นอย่างไร มีข้อมูลอะไรที่เรายังไม่รู้

วรรษกร สาระกุล

6 Apr 2020

Issue of the Age

2 Apr 2020

สบตากับ COVID-19 : เรียนรู้วิกฤตเพื่อสร้างกลไกการออกแบบนโยบาย กับ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานกรรมการมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข มาชวนคิดเรื่องนโยบายรับมือ COVID-19 ในแง่มุมต่างๆ ที่ไม่ค่อยมีใครพูดถึง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

2 Apr 2020

Global Affairs

2 Apr 2020

โคโรน่าไวรัส: เราจะไม่ทำอะไรเลย, จะผ่อนหนักเป็นเบา, หรือจะเลือกใช้ค้อนและเริงระบำ

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ชวนสำรวจข้อถกเถียงการใช้มาตรการของกลุ่มประเทศต่างๆ เพื่อรับมือและแก้ปัญหาโควิด-19 ที่กำลังระบาดไปทั่วโลก

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี

2 Apr 2020

Issue of the Age

2 Apr 2020

You must stay at home: มองสังคมอังกฤษผ่านมรสุม COVID-19

ชลิดา หนูหล้า นักเรียนไทยในอังกฤษ เขียนเล่าบรรยากาศในอังกฤษช่วงโควิด-19 แพร่ระบาด ที่สะท้อนภาพสังคมทั้งในฉากหน้าและวิธีคิดเบื้องหลังของผู้คน

ชลิดา หนูหล้า

2 Apr 2020

Issue of the Age

1 Apr 2020

เมื่อไวรัสทำให้เราต้องอยู่กันแบบดิจิทัล: 16 คำแนะนำจากศาสตร์มานุษยวิทยาดิจิทัล

101 เก็บความ 16 คำแนะนำในการรักษาความสัมพันธ์ในวันที่เราต้องเว้นระยะห่างทางสังคมจากศาสตร์มานุษยวิทยาดิจิทัล

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 Apr 2020

Issue of the Age

24 Mar 2020

หลังโรคระบาดจากไป จะเห็นอะไร

10 ข้อสังเกตจาก วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ที่จะเห็นการปรับตัวเพื่ออยู่รอดแบบใหม่ของมนุษย์ในอนาคตเมื่อโคโรนาไวรัสผ่านไป

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

24 Mar 2020

Issue of the Age

6 Feb 2020

“เราถูกเอาเปรียบมาตลอด” ศิวัช พงษ์เพียจันทร์: สิทธิอากาศบริสุทธิ์เป็นของประชาชน      

ณัฐชลภัณ หอมแก้ว พูดคุยกับ ศ.ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาป้องกันและจัดการภัยพิบัติ นิด้า ถึงอันตรายที่แฝงตัวอยู่ในฝุ่น PM 2.5 และการผลักดันร่างกฎหมายอากาศสะอาด

กองบรรณาธิการ

6 Feb 2020

Social Problems

18 Jan 2020

หลักประกันสุขภาพที่รัก (50) : ตอนอวสาน

คอลัมน์ ‘หลักประกันสุขภาพที่รัก’ ตอนสุดท้าย นายแพทย์ประเสริฐ  ผลิตผลการพิมพ์ รำลึกถึงนายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ ต้นธารของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

18 Jan 2020

Social Problems

9 Jan 2020

หลักประกันสุขภาพที่รัก (49) : สู่สังคมสมองเสื่อม Still Alice

นายแพทย์ประเสริฐ  ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึง ‘Still Alice’ ภาพยนตร์ที่สะท้อนภาพผู้ป่วยอัลไซเมอร์ และชวนคิดถึงระบบสุขภาพ โดยเฉพาะการดูแลผู้ป่วยที่หมดทางรักษา

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

9 Jan 2020

Issue of the Age

26 Dec 2019

หนีจากชายขอบเพื่อปะทะกับความไม่เข้าใจ : สุขภาพจิต-เพศ ในปี 2019

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ ชวนสำรวจเรื่องเพศและสุขภาพจิต ในปี 2019 เพื่อทบทวนว่า ในสองประเด็นที่สังคมเริ่มเปิดใจ มีแง่มุมไหนที่ยังก้าวไม่พ้นอคติ และความไม่เข้าใจของคนในสังคมบ้าง

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

26 Dec 2019

Health

20 Dec 2019

ใจของเราก็เจ็บป่วยเป็น : สุขภาพจิตและความคิดฆ่าตัวตายของนักเรียนนักศึกษาไทย

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาสำรวจสถานการณ์สุขภาพจิตของวัยรุ่น ปัญหาสภาพแวดล้อม ความเข้าใจของผู้ใหญ่ ไปจนถึงข้อจำกัดในการรับการรักษา ผ่านคำบอกแล้วของอาจารย์ นักจิตวิทยาในสถานศึกษา และตัวแทนเด็กและเยาวชน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

20 Dec 2019

Social Problems

19 Dec 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (48) : สู่สังคมผู้สูงอายุ Amour

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงการดูแลผู้ป่วยสูงวัยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ผ่านการชมภาพยนตร์ฝรั่งเศส ‘Amour’ เมื่อสามีชราต้องเผชิญความเปลี่ยนแปลงของภรรยาคู่ทุกข์ที่อยู่ร่วมกันมา 50 ปี

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

19 Dec 2019

Social Problems

5 Dec 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (47) : หลักประกันสุขภาพแห่งชาติของอังกฤษ ตอนที่ 4

นายแพทย์ประเสริฐ  ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของอังกฤษ ตอนที่ 4 โดยสะท้อนประสบการณ์ศัลยสัตวแพทย์ชาวอังกฤษที่มองเรื่องหลักประกันสุขภาพผ่านงานอาสาสมัครรักษาสัตว์ป่วย

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

5 Dec 2019
1 7 8 9 17

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

Life & Culture

24 Apr 2024

โรคซึมเศร้าของคนเฒ่าคนแก่: ยิ่งสูงวัย ยิ่งเศร้า ยิ่งเข้าถึงยาก

101 ชวนสำรวจปัญหาโรคซึมเศร้าในผู้สูงวัย เมื่อโรคนี้ไม่ได้เกิดแค่กับคนวัยหนุ่มสาว แต่กลายเป็น ‘โรคเงียบ’ ของคนเฒ่าคนแก่

พรสุดา เสริฐจันทึก

24 Apr 2024

กระจายอำนาจคือคำตอบ

24 Apr 2024

ผลิตจิตแพทย์

เมื่อปัญหาจิตแพทย์ขาดแคลนเป็นเพียงภาพสะท้อนปลายเหตุ นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ จึงชวนดูต้นเหตุของเรื่องนี้ ซึ่งโยงใยปัญหานานา

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

24 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save