fbpx

Politics

30 Jun 2022

ก๋วยเตี๋ยวใส่ถั่วงอก ดนตรีแจ๊ส ทางหลวง และมูเตลูในปฐมรัฐธรรมนูญ: อ่านการเมืองวัฒนธรรมสมัยคณะราษฎรกับ นริศ จรัสจรรยาวงศ์

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ สำรวจวัฒนธรรมร่วมสมัยที่ปรากฏในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อปี 2475 ไม่ว่าจะการสร้างถนนหนทาง, ความเชื่อ ไปจนถึงอาหารและดนตรีที่กลายเป็นหนึ่งในวัฒนธรรมกระแสหลักของไทยในโมงยามปัจจุบัน

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

30 Jun 2022

Thai Politics

30 Jun 2022

กำเนิดธรรมนูญปกครองสยามฉบับที่หนึ่ง: การต่อรองระหว่าง ‘เจ้า’ กับ ‘ราษฎร’ ในการอภิวัฒน์ 2475

รวินทร์ ถมยา เล่าเรื่องราวการถือกำเนิดของรัฐธรรมนูญฉบับแรกในไทยที่แฝงไว้ด้วยการต่อรองระหว่าง ‘เจ้า’ และ ‘คณะราษฎร’

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง

30 Jun 2022

Politics

24 Jun 2022

5 คำถามเกี่ยวกับคณะราษฎรและปฏิวัติ 2475

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ ตอบ 5 คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับคณะราษฎรและการปฏิวัติ 2475 ซึ่งช่วยสร้างภาพที่ชัดเจนขึ้นแก่ช่วงการอภิวัฒน์สยาม

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

24 Jun 2022

World

24 Jun 2022

การต่างประเทศยุคคณะราษฎร: หลักเอกราช การแสวงหาสถานะ และการช่วงชิงความชอบธรรม – พีระ เจริญวัฒนนุกูล

101 สนทนากับ พีระ เจริญวัฒนนุกูล ว่าด้วยการช่วงชิงความชอบธรรมทางการเมือง การแสวงหาสถานะและเอกราชไทยในการเมืองระหว่างประเทศยุคคณะราษฎร

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Jun 2022

Political Economy

24 Jun 2022

อภิชาต สถิตนิรามัย: 90 ปีเศรษฐกิจไทยหลัง 2475 ความฝัน ‘คนเท่ากัน’ ของคณะราษฎร ยังไม่เป็นจริง

101 สนทนากับอภิชาต สถิตนิรามัย ย้อนมองเศรษฐกิจไทยตลอด 90 ปีที่ผ่านมาหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ท่ามกลางอิทธิพลความขัดแย้งทางอำนาจ

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

24 Jun 2022

Thai Politics

24 Jun 2022

เฉลิมฉลองวันชาติครั้งแรก 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เปิดเอกสารเล่าถึงความรื่นเริงเมื่อครั้งยังมีงานฉลองวันชาติ 24 มิถุนายน ตั้งแต่ครั้งแรกในปี 2482 จนซบเซาและปิดฉากลง

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

24 Jun 2022

Thai Politics

23 Jun 2022

ข่าวลือและการสืบราชการลับในโมงยามหลังการปฏิวัติสยาม

ปฐมาวดี วิเชียรนิตย์ เปิดเอกสาร ‘การสืบราชการลับ’ และข่าวลือที่เกิดขึ้นท่ามกลางความไม่แน่นอนทางการเมืองในช่วงหลังการปฏิวัติ 2475

ปฐมาวดี วิเชียรนิตย์

23 Jun 2022

Life & Culture

23 Jun 2022

ย้อนดูบทบาทและชีวิตของ ‘ภรรยาคณะราษฎร’ ที่ประวัติศาสตร์ฉบับปิตาธิปไตยไม่เคยกล่าวถึง

เรื่องราวของคู่ชีวิตของเหล่าคณะราษฎร ผู้มีส่วนสำคัญในการสร้างความเปลี่ยนแปลง ที่ไม่มีในหน้าประวัติศาสตร์ฉบับปิตาธิปไตย

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

23 Jun 2022

Thai Politics

18 Jan 2022

โลหิตหยดแรกประชาธิปไตยไทย

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เปิดหลักฐานว่าด้วยเหตุการณ์การปะทะที่ก่อให้เกิด “โลหิตหยดแรก” ของประชาธิปไตยไทย ในวันที่ 24 มิถุนายน 2475

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

18 Jan 2022

Politics

1 Jul 2021

ราษฎรตื่นแล้ว: จดหมายถึงคณะราษฎรหลังการปฏิวัติสยาม 2475

ปฐมาวดี วิเชียรนิตย์ ชวนอ่านจดหมายที่ ‘ราษฎร’ ส่งตรงถึง ‘คณะราษฎร’ ภายหลังมีระบอบการเมืองใหม่ เพื่อแสดงความกระตือรือร้นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการทำให้ประเทศเจริญหลังการปฏิวัติ

ปฐมาวดี วิเชียรนิตย์

1 Jul 2021

Politics

25 Jun 2021

พระบรมรูปทรงม้า : พื้นที่แห่งความทรงจำและอำนาจร่วมกันของกษัตริย์ รัฐ ประชาชน ‘ชาตรี ประกิตนนทการ’

ภาพของพระบรมรูปทรงม้าที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปส่อเค้าลางว่าอย่างไร? 101 คุยกับ ชาตรี ประกิตนนทการ ถึงประวัติศาสตร์พระบรมรูปทรงม้า สัญญะอำนาจ และความเป็นพื้นที่สาธารณะ

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

25 Jun 2021

Documentary

24 Jun 2021

Public | Space ไพร่ ฟ้า ม้า ลาน

การเปลี่ยนแปลงของพระบรมรูปทรงม้าในวันนี้แสะท้อนให้เห็นถึงสิ่งใด 101 Documentary ชวนค้นหาคำตอบพร้อมเล่าเกร็ดประวัติศาสตร์ใน Public | Space ไพร่ ฟ้า ม้า ลาน

กองบรรณาธิการ

24 Jun 2021

Democracy

2 Jul 2020

นาฏกรรมในท้องพระโรง

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงบทบาทของพระที่นั่งอนันตสมาคม จากเดิมเป็นพื้นที่สัญลักษณ์ความยิ่งใหญ่ของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สู่การเป็นพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญในการอภิวัฒน์สยาม 2475

ธนาวิ โชติประดิษฐ

2 Jul 2020

Thai Politics

27 Jun 2020

ความเป็นประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย กับ ศรัญญู เทพสงเคราะห์

คุยกับ ผศ.ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ผู้เขียนหนังสือ ‘ราษฎรธิปไตย การเมือง อำนาจ และทรงจำของ (คณะ) ราษฎร’ ว่าด้วยการต่อสู้เพื่อสถาปนาความหมายของอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

27 Jun 2020
1 2 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017