fbpx

Thai Politics

26 Jun 2020

2475: ประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต กับ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ ว่าด้วย ‘การอภิวัฒน์สยาม 2475’ ประวัติศาสตร์จุดเริ่มต้นของระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทยวันนี้

กองบรรณาธิการ

26 Jun 2020

Thai Politics

25 Jun 2020

ประกาศคณะราษฎรกับ ‘หน้า’ ของพระปกเกล้า

อิสระ ชูศรี ฉายภาพ “ความร่วมมือ-ต่อรอง” ระหว่างคณะราษฎรกับพระปกเกล้า ผ่านถ้อยคำและภาษาที่ปรากฏอยู่ในเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์

อิสระ ชูศรี

25 Jun 2020

Videos

24 Jun 2020

The Mo(nu)ment of Democracy : อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นพื้นที่เรียกร้องความเป็นธรรมของประชาชนจากทั่วทุกหย่อมหญ้า และเป็นวงเวียนที่นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกเคยสัญจรผ่าน ความเป็นประชาธิปไตยของอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยดำเนินมาอย่างไรในห้วงยามที่ประชาธิปไตยไหวเอน
101 Documentary ชวนชม The Mo(nu)ment of Democracy : อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์

กองบรรณาธิการ

24 Jun 2020

Democracy

24 Jun 2020

รัฐธรรมนูญคณะราษฎรในประวัติศาสตร์ (กฎหมาย) กษัตริย์นิยม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนย้อนมองประวัติศาสตร์กฎหมายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากรัฐธรรมนูญยุคคณะราษฎร (2475-2489) สู่การ ‘รื้อสร้าง’ ความหมายโดยฝ่ายกษัตริย์นิยมหลังรัฐประหาร 2490

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

24 Jun 2020

Thai Politics

24 Jun 2020

อภิวัฒน์สยาม 2475 : อดีต ปัจจุบัน อนาคต

101 ขอนำเสนอซีรีส์ “อภิวัฒน์สยาม 2475” เพื่ออ่านอดีต เข้าใจปัจจุบัน และมองอนาคตของประชาธิปไตยไทยในมิติการเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ และสังคมวัฒนธรรม

กองบรรณาธิการ

24 Jun 2020

Thai Politics

23 Jun 2020

2475 ยังสำคัญแค่ไหนในยุคอินเทอร์เน็ต

วรรษกร สาระกุล ชวนมอง 2475 ผ่านโลกของข้อมูล เมื่อสถิติผู้ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้สะท้อนความสนใจของผู้คนอย่างมีนัยสำคัญ

วรรษกร สาระกุล

23 Jun 2020

Talk Programmes

17 Jun 2020

101 One-on-One Ep.156 “2475: ประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต” กับ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

สำรวจ ‘ชีวิต’ ของประวัติศาสตร์การอภิวัฒน์สยาม เพื่อทำความเข้าใจปัจจุบันและอนาคตการเมืองไทย คุยกับ ผศ.ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดยเฉพาะการอภิวัฒน์สยาม

101 One-on-One

17 Jun 2020

Thai Politics

14 May 2020

“ผมเห็น ‘ปรีดี พนมยงค์’ เต็มไปหมดในกลุ่มคนรุ่นใหม่” – ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล

สำรวจมรดกทางความคิดของปรีดี พนมยงค์ ว่าดำรงอยู่และวิวัฒน์อย่างไรในสังคมไทยสมัยใหม่ กับ ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

14 May 2020

People

4 Mar 2020

‘ชุบ ศาลยาชีวิน’ มือพิมพ์ดีด ‘ปฐมรัฐธรรมนูญ’ สยาม

กษิดิศ อนันทนาธร เล่าเกร็ดชีวิตของ ‘ชุบ ศาลยาชีวิน’ มือพิมพ์ดีดร่างปฐมรัฐธรรมนูญบนเรือจ้างกลางแม่น้ำเจ้าพระยา

กษิดิศ อนันทนาธร

4 Mar 2020

Thai Politics

14 Feb 2020

ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ทางอุดมการณ์: ความตายระลอกสองของคณะราษฎร

วจนา วรรลยางกูร พาไปสำรวจประเด็นการทำลายอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมผ่านสารคดี The Destruction of Memory และสะท้อนสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นกับมรดกคณะราษฎรในมุมมองของ ชาตรี ประกิตนนทการ

วจนา วรรลยางกูร

14 Feb 2020

People

8 Jan 2020

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์: “ดิฉันเป็นผู้หญิงที่โชคดีที่สุดที่ได้มีคู่ครองเช่นนี้”

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนเล่าชีวิตรักของ ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสของไทยและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตั้งแต่เริ่มต้นจวบจนก้าวผ่านมรสุมทางการเมือง

กษิดิศ อนันทนาธร

8 Jan 2020

Thai Politics

19 Nov 2019

‘เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ’ การเมืองในละคร และ ‘คณะราษฎร’ ผู้รับบทตัวร้ายตลอดกาล

101 คุยกับ เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ ถึงภาพของคณะราษฎรที่ปรากฏผ่านละครในฐานะ ‘ตัวร้าย’ การเมืองในละครหลังข่าว และทิศทางความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมละครไทย

วจนา วรรลยางกูร

19 Nov 2019

Thai Politics

2 Oct 2019

จาก ‘2475’ ถึง ‘ปัจจุบัน’ : “ถ้าไม่เห็นอดีต เราจะมองไม่เห็นอนาคต” – ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

‘2475’ เป็นหมุดหมายสำคัญของประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวพันอยู่กับสภาพการเมืองไทยในปัจจุบัน ถ้าประวัติศาสตร์เป็นเหรียญสองด้าน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อ่าน ‘2475’ อย่างไร

ธิติ มีแต้ม

2 Oct 2019
1 2 3 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save