fbpx

Thai Politics

22 Aug 2017

มองอดีต ปัจจุบัน และอนาคตของการเมืองไทยผ่าน “แผ่นดินจึงดาล”

สมคิด พุทธศรี ชวนอ่านหนังสือ “แผ่นดินจึงดาล: การเปลี่ยนผ่านในสภาพบังคับ” ว่าด้วยอดีต ปัจจุบัน และอนาคตของการเมืองไทย ผ่านสายตาของเก้านักวิชาการหลากศาสตร์

สมคิด พุทธศรี

22 Aug 2017

Thai Politics

18 Aug 2017

ความตายอย่างหมาข้างถนน ความตายอย่างไร้สาระ ในประเทศสมาธิสั้น

อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึง “ความตาย” ในบ้านเมืองที่ชีวิตของผู้คนหาได้มีราคา และความตายผิดธรรมชาติ ไร้สาระ และปราศจากเหตุผลอันสมควรกลับถูกมองเห็นเป็นเรื่องปกติธรรมดา

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

18 Aug 2017

Thai Politics

13 Aug 2017

มอง “ประชาไท” ในรัฐทหาร ท่ามกลางแผ่นดินไหวในภูมิทัศน์สื่อ ผ่านสายตา “ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข”

101 ชวน ‘ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข’ บรรณาธิการบริหาร ‘ประชาไท’ สนทนาเรื่อง ‘ประชาไท’ ในรัฐทหาร และความสั่นไหวในภูมิทัศน์สื่อใหม่

จารุกิตติ์ ธีรตาพงศ์

13 Aug 2017

Political Economy

4 Aug 2017

นายทุนไทยในการเมือง: ผู้สนับสนุนประชาธิปไตยแบบมีเงื่อนไข

พลอย ธรรมาภิรานนท์ ชวนคิดเรื่องนายทุนไทยกับจุดยืนต่อระบอบประชาธิปไตย ทำไมนายทุนไทยที่เคยสนับสนุนประชาธิปไตยในช่วงหลังเหตุการณ์พฤษภาคม 2535 กลับหันหลังให้ประชาธิปไตย มาสนับสนุนรัฐบาลทหารและขบวนการต่อต้านประชาธิปไตยในช่วงหลัง

พลอย ธรรมาภิรานนท์

4 Aug 2017

Thai Politics

2 Aug 2017

เก็บตกงานไทยศึกษาที่เชียงใหม่: เมื่อนักวิชาการต่อจิ๊กซอว์การเมืองไทย

ประจักษ์ ก้องกีรติ เก็บตกความคิดจากงานประชุมวิชาการนานาชาติ “ไทยศึกษา” ที่เชียงใหม่ เมื่อเหล่านักวิชาการช่วยกันต่อจิ๊กซอว์การเมืองไทยในปัจจุบัน

ประจักษ์ ก้องกีรติ

2 Aug 2017

Thai Politics

25 Jul 2017

ยุทธศาสตร์ชาติกับประชาชนที่หายไป

อิสร์กุล อุณเกตุ วิเคราะห์ร่างกฎหมายการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ที่กำลังจะประกาศใช้ ประเด็นสำคัญคือ การมีส่วนร่วมของประชาชนและกลไกการรับผิดของรัฐบาลต่อประชาชนหายไปไหน และประเด็นสำคัญกว่าคือ กลไกการเลือกตั้งอาจมิได้มีความหมายใดๆ อีกต่อไป

อิสร์กุล อุณหเกตุ

25 Jul 2017

Thai Politics

12 Jul 2017

โลกแบนและมีประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง

อายุษ ประทีป ณ ถลาง วิพากษ์สังคมการเมืองไทยที่ย้อนยุคไปไกลราวกับอยู่ในยุคสมัยที่เชื่อว่า “โลกแบน” แถมมีประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของโลกและจักรวาล

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

12 Jul 2017

Trends

11 Jul 2017

จาก Estonia สู่ e-Stonia : ถอดบทเรียน 25 ปี การรีบูทเอสโตเนีย กับ Viljar Lubi

Viljar Lubi รัฐมนตรีเศรษฐกิจดิจิทัลของเอสโตเนีย สนทนากับ วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง ถอดบทเรียน 25 ปี การรีบูทประเทศใหม่ จนเป็นซิลิคอนวัลเลย์แห่งยุโรป

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง

11 Jul 2017

Global Affairs

9 Jul 2017

สำรวจระเบียบเศรษฐกิจใหม่ในโลกที่ไม่คล้ายเดิม กับ Michael Heise

101 สัมภาษณ์พิเศษ Dr.Michael Heise หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของ Allianz SE สถาบันการเงินสัญชาติเยอรมนีที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก เกี่ยวกับระเบียบเศรษฐกิจโลกใหม่ ก้าวต่อไปของ Brexit สหรัฐอเมริกาในอุ้งมือโดนัลด์ ทรัมป์ และเศรษฐกิจไทยในยุคเปลี่ยนผ่าน

ปกป้อง จันวิทย์

9 Jul 2017

Social Movement

7 Jul 2017

10 ปี สื่อสาธารณะในสังคมไทย

ปกป้อง จันวิทย์ ตั้งคำถาม ในช่วงเวลาที่สังคมไทยต้องการสื่อสาธารณะมากที่สุด Thai PBS หายไปไหน? 10 ปีของสื่อสาธารณะในสังคมไทย เรามองเห็นอะไร และควรเดินต่อไปอย่างไร เพื่อลดช่องว่างระหว่างความคาดหวังกับความเป็นจริง

ปกป้อง จันวิทย์

7 Jul 2017

Thai Politics

24 Jun 2017

การปฏิวัติ 2475 ที่โรงเรียนไม่ได้สอน

ในสังคมที่ประวัติศาสตร์กลายเป็นเครื่องมือของการควบคุมกล่อมเกลาความคิดคนมากกว่าเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้เพื่อให้เท่าทันอดีตของสังคมตนเอง ประจักษ์ ก้องกีรติ สำรวจตรวจสอบมายาคติ 4 ประการเกี่ยวกับ 2475 พร้อมนำเสนอประวัติศาสตร์ 2475 ฉบับโรงเรียนไม่ได้สอน

ประจักษ์ ก้องกีรติ

24 Jun 2017

Thai Politics

21 Jun 2017

กุหลาบ สายประดิษฐ์ ยังมีชีวิตอยู่?

เวียง-วชิระ บัวสนธ์ เขียนถึง กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา ‘สุภาพบุรุษ’ นักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ซึ่งยึดมั่นหลักประชาธิปไตยเป็นโคมไฟส่องทางสังคม

เวียง วชิระ บัวสนธ์

21 Jun 2017

Law

14 Jun 2017

ศาลและระบอบเผด็จการ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างคณะรัฐประหารกับสถาบันตุลาการ มองบทบาทของสถาบันตุลาการภายใต้ระบอบอำนาจนิยม และทำความเข้าใจฝ่ายตุลาการในเชิงสถาบัน โดยเฉพาะในบริบทของวงวิชาการไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Jun 2017

Thai Politics

14 Jun 2017

3 ปีระบอบคสช. : ความถดถอยของประเทศชาติและประชาธิปไตย

อ่านทัศนะของ อายุษ ประทีป ณ ถลาง “นายประชา ช้ำชอก” อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์สยามโพสต์และไทยโพสต์ ว่าด้วย 3 ปีแห่งความถดถอยของประเทศชาติและประชาธิปไตย ภายใต้ระบอบ คสช.

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

14 Jun 2017
1 13 14 15 17

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save