fbpx

Thai Politics

11 Oct 2017

เมื่อ “ประยุทธ์” สัมผัสมือกับ “ทรัมป์” นักการเมืองกลับห่วงเลือกตั้งมากกว่าประชาธิปไตย

อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึง ‘การแซะ’ พล.อ.ประยุทธ ขณะเยือนสหรัฐอเมริกา และตั้งคำถามต่อท่าทีของนักการเมืองทุกฝ่ายที่เมื่อได้ยินสัญญาว่าจะให้มีการเลือกตั้ง ก็กระเหี้ยนกระหือรือที่จะลงสนามการเมืองจนไม่สนหลักประชาธิปไตย

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

11 Oct 2017

World

4 Oct 2017

การเมืองของทางเลือกและน้ำยาของฝ่ายก้าวหน้า: บทวิเคราะห์การเลือกตั้งในเยอรมัน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ วิเคราะห์เบื้องหลังการเลือกตั้งเยอรมนี อะไรคือบทเรียนของฝ่ายก้าวหน้าจากความสำเร็จเกินคาดของพรรคฝ่ายขวา

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

4 Oct 2017

Thai Politics

4 Oct 2017

ยุคสมัยแห่งความเงียบ (ครั้งที่ 2) ของไทย

ประจักษ์ ก้องกีรติ ย้อนอดีต 59 ปี รัฐประหารของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ หนึ่งในจุดเปลี่ยนการเมืองไทยที่สำคัญที่สุด จากยุคสมัยแห่งความเงียบในครั้งนั้นถึงครั้งนี้ กงล้อประวัติศาสตร์หมุนทับประชาชนผ่านเครื่องมืออะไรและอย่างไร

ประจักษ์ ก้องกีรติ

4 Oct 2017

Political Economy

3 Oct 2017

ระบอบอำนาจนิยมพัฒนาประเทศได้ดีกว่าระบอบประชาธิปไตยจริงหรือ?

พลอย ธรรมาภิรานนท์ ตอบคำถาม ระบอบอำนาจนิยมพัฒนาประเทศได้ดีกว่าระบอบประชาธิปไตยจริงหรือ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

3 Oct 2017

Thai Politics

1 Oct 2017

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ กับสายธารประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทย

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ รำลึกถึง สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ นักประวัติศาสตร์ก้าวหน้า ผู้ไม่เคยท้อถอยและสิ้นหวังต่อการเคลื่อนไหวและต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ของประชาชน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Oct 2017

Thai Politics

26 Sep 2017

รู้เขารู้เรา เข้าใจวิธีคิดกองทัพไทย ผ่าน สุรชาติ บำรุงสุข

101 ชวน ศ.ดร.สุรชาติ บำรุงสุข คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำรวจวิธีคิดของทหารไทยในสารพัดมิติ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และนโยบายต่างประเทศ

สมคิด พุทธศรี

26 Sep 2017

Thai Politics

25 Sep 2017

ความรักเดือนกันยายน

เรื่องราวความรักของคนขับรถแท็กซี่ที่น่าจะมีคนเรือนแสนเรือนล้านชูเขาเป็นไอคอนทางอุดมการณ์ประชาธิปไตย แต่อะไรเป็นคำพูดสุดท้ายที่เขาพูดกับเมียรักก่อนทั้งคู่จะไม่มีโอกาสกลับมาพบกันอีก

ธิติ มีแต้ม ชวนอ่านความทรงจำจากเมียรักของสุภาพบุรุษคนนั้น

ธิติ มีแต้ม

25 Sep 2017

Political Economy

17 Sep 2017

เส้นทาง (เลี่ยง) ประชาธิปไตยของรัฐพัฒนา : เกาหลีใต้และไต้หวัน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนถกคำถามสำคัญของเศรษฐศาสตร์การเมืองคือ ความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจนำมาซึ่่งประชาธิปไตยโดยอัตโนมัติหรือไม่ ประสบการณ์ของเกาหลีใต้และไต้หวันบ่งบอกความคดเคี้ยวของวิถีประชาธิปไตยตะวันออกอย่างไร

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Sep 2017

Thai Politics

14 Sep 2017

อ่านประวัติศาสตร์การเมืองไทยยุคใกล้

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการเมืองไทยตั้งแต่ยุครัฐประหาร 2490 ซึ่งเปลี่ยนระบอบการเมืองจากระบอบที่ผู้นำคณะราษฎรวางรากฐานไว้ พร้อมตั้งคำถามสำคัญว่า ทำไมสังคมการเมืองไทยจึงขาดพลังทางสังคมนอกระบบราชการที่จะต่อต้านรัฐประหาร และเป็นพลังที่จะรักษาประชาธิปไตยไว้อย่างได้ผล ปัญญาจากมงเตสกิเยอและต๊อกเกอะวิลล์ให้คำตอบอะไรกับการเมืองไทย

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Sep 2017

Thai Politics

7 Sep 2017

เยี่ยมยามถามข่าว ‘ไผ่ ดาวดิน’

22 สิงหาคม ที่ผ่านมา กลุ่มนักเขียนจำนวนหนึ่งได้พากันไปเยี่ยมเยียน “ไผ่ ดาวดิน” ที่ศาลมณฑลทหารบกที่ 23 จังหวัดขอนแก่น

และนี่คือบันทึกจาก “เวียง-วชิระ บัวสนธ์” หนึ่งในคณะนักเขียนที่เดินทางฝ่าความมืดไปเยี่ยมยามถามข่าว “ไผ่ ดาวดิน”

เวียง วชิระ บัวสนธ์

7 Sep 2017

Global Affairs

1 Sep 2017

“กับดักธูสิดีดิส” แห่งศตวรรษที่ 21 : การเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่าง(ไร้)สันติ? 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์หนึ่งในโจทย์สำคัญที่สุดของระเบียบโลกในศตวรรษที่ 21 – สหรัฐฯ และจีนจะก้าวข้าม “กับดักธูสิดีดิส” จนเกิดการเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่างสันติได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ

1 Sep 2017

Thai Politics

30 Aug 2017

จากธัมมชโย ถึงยิ่งลักษณ์ ละครของชนชั้นนำ

สถานการณ์ของอดีตนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และพระธัมมชโย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย มีความคล้ายคลึงกันอย่างไร วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนเล่าพล็อตละครของชนชั้นนำสองเรื่องสองตัวเอก

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

30 Aug 2017
1 12 13 14 17

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save