การ “ปฏิวัติ” ผ่านคูหาเลือกตั้งที่มาเลเซีย
ประจักษ์ ก้องกีรติ วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งมาเลเซีย ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้ฝ่ายรัฐบาลนำโดยพรรคอัมโน ที่ครองอำนาจมานานถึง 61 ปี ต้องพ่ายแพ้ในการเลือกตั้งครั้งนี้

ประจักษ์ ก้องกีรติ วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งมาเลเซีย ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้ฝ่ายรัฐบาลนำโดยพรรคอัมโน ที่ครองอำนาจมานานถึง 61 ปี ต้องพ่ายแพ้ในการเลือกตั้งครั้งนี้
ประจักษ์ ก้องกีรติ เขียนบันทึก 2017 ว่าด้วย ‘ความหวัง’ ที่เคลื่อนไหวในความทรงจำ จากป้ายรถเมล์กรุงเบอร์ลิน ถึงต้นมะขามสนามหลวง
พรรคทหารไม่ใช่เรื่องใหม่ในการเมืองไทย ประจักษ์ ก้องกีรติ เล่าประวัติศาสตร์ของพรรคทหารในอดีตว่าสำเร็จและล้มเหลวอย่างไร เพื่อเป็นบทเรียนชั้นดีสำหรับประชาชน นักการเมือง และ คสช.
ประจักษ์ ก้องกีรติ ย้อนอดีต 59 ปี รัฐประหารของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ หนึ่งในจุดเปลี่ยนการเมืองไทยที่สำคัญที่สุด จากยุคสมัยแห่งความเงียบในครั้งนั้นถึงครั้งนี้ กงล้อประวัติศาสตร์หมุนทับประชาชนผ่านเครื่องมืออะไรและอย่างไร
ประจักษ์ ก้องกีรติ ตั้งคำถาม “ทำไมประเทศไทยติดกับดักคอร์รัปชัน” และตอบคำถาม “ทางออกจากกับดักคอร์รัปชันอยู่ตรงไหน”
ประจักษ์ ก้องกีรติ เก็บตกความคิดจากงานประชุมวิชาการนานาชาติ “ไทยศึกษา” ที่เชียงใหม่ เมื่อเหล่านักวิชาการช่วยกันต่อจิ๊กซอว์การเมืองไทยในปัจจุบัน
ในสังคมที่ประวัติศาสตร์กลายเป็นเครื่องมือของการควบคุมกล่อมเกลาความคิดคนมากกว่าเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้เพื่อให้เท่าทันอดีตของสังคมตนเอง ประจักษ์ ก้องกีรติ สำรวจตรวจสอบมายาคติ 4 ประการเกี่ยวกับ 2475 พร้อมนำเสนอประวัติศาสตร์ 2475 ฉบับโรงเรียนไม่ได้สอน
ในวาระครบรอบ 3 ปี รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 “ประจักษ์ ก้องกีรติ” สำรวจงานวิจัยว่าด้วยรัฐประหารทั่วโลกเพื่อคุยกับสังคมไทยว่า เขาเลิกทำรัฐประหารกันแล้ว ผู้นำรัฐประหารไม่เคยรักษาสัญญา รัฐประหารไม่สามารถฟื้นฟูประชาธิปไตยให้คุณภาพดีขึ้นได้ กลับทำให้ยิ่งถดถอยลง ดังนั้น รัฐประหารจึงไม่ใช่ทางออกของการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง
ประจักษ์ ก้องกีรติ ย้อนอ่าน “ประชาธิปไตยครึ่งใบ” ผ่านผลงาน “ลิขิต ธีรเวคิน” ก่อนชวนคิดต่อว่า ระบอบการเมืองไทยยุคหลังรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2560 คือการทวนเข็มนาฬิกากลับสู่ยุคประชาธิปไตยครึ่งใบในอดีต หรือถอยหลังไปไกลกว่านั้น!
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า