fbpx

World

29 Feb 2024

มองผ่านน้ำตาท่านผู้นำ: ปัญหาอัตราเกิดต่ำในเกาหลีเหนือและนโยบายเพิ่มประชากรประเทศคอมมิวนิสต์

มัธธาณะ รอดยิ้ม พาไปย้อนดูนโยบายส่งเสริมการมีลูกของประเทศคอมมิวนิสต์ในอดีต เมื่อแนวคิดสวัสดิการส่งผลดีต่อการคิดจะมีลูก แต่ก็ไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่ทำให้คนตัดสินใจมีลูก

มัธธาณะ รอดยิ้ม

29 Feb 2024

Thai Politics

12 Oct 2023

จาก 14 ตุลาฯ ถึง 6 ตุลาฯ: การปรากฏขึ้นของความคิดเหมาอิสม์ในปัญญาชนไทยและรายงานการสดับตรับฟังของสันติบาล

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง ชวนมองความเปลี่ยนแปลงช่วง 14 ตุลาฯ 2516 ถึง 6 ตุลาฯ 2519 ที่ความคิดฝ่ายซ้ายปรากฏตัวในขบวนการนักศึกษา โดยเฉพาะการจัด ‘นิทรรศการจีนแดง’ ในปี 2517

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง

12 Oct 2023

Thai Politics

21 Aug 2023

ผีคณะราษฎร-ผีคอมมิวนิสต์-ผีทักษิณ: ไตรภาคชัยชนะปีกอนุรักษนิยม สู่บทใหม่ ‘ผีก้าวไกล’

ประทีป คงสิบ ชวนไล่เรียงประวัติศาสตร์การเมืองไทยฉบับย่อ ผ่านเรื่องราวของผีคณะราษฎร ผีคอมมิวนิสต์ ผีทักษิณ และผีก้าวไกล ที่หลอกหลอนปีกจารีตมาอย่างยาวนาน

ประทีป คงสิบ

21 Aug 2023

Life & Culture

11 Apr 2023

อ่านจีนให้รู้จัก

แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึงหนังสือ ‘เขียนจีนให้เป็นไทย’ ของสิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์ ที่ตีแผ่การเปลี่ยนแปลงของอัตลักษณ์จีนจากความเป็นอื่นสู่ความเป็นไทย

แมท ช่างสุพรรณ

11 Apr 2023

Life & Culture

23 Dec 2022

พ่อไม่เคยลืมสัญญา

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงชีวิตของ ‘พ่อ’ ผู้เป็นชาวจีนยุคเสื่อผืนหมอนใบ อพยพจากสงครามกลางเมืองมาอยู่ไทย แต่ไม่เคยลืมสัญญาตลอด 70 ปี

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

23 Dec 2022

World

18 Oct 2022

เมื่อสหายหิว: ความล้มเหลวทางอาหารในเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนมองสภาพสังคมเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ เมื่อรัฐบาลคอมมิวนิสต์ต้องเผชิญปัญหาขาดแคลนอาหาร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

18 Oct 2022

Politics

14 Oct 2022

ภาพ “หลอน”

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการ ‘6 ตุลา เผชิญหน้ากับปีศาจ’ ที่ใช้ภาพถ่ายร่วมกันเล่าเรื่องราว พาเรากลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์บาดแผลของสังคมไทย

ธนาวิ โชติประดิษฐ

14 Oct 2022

World

31 May 2022

คอสโมนอตคนแรกแห่งอุษาคเนย์: โซเวียตกับการช่วยสร้างชาติเวียดนาม

เรื่องราวของ’ฟัม ต๋วน’ นักบินจากกองทัพอากาศเวียดนาม เป็นชาวเอเชียคนแรกที่ขึ้นสู่ห้วงอวกาศในฐานะ ‘คอสโมนอต’ ของสหภาพโซเวียต

มัธธาณะ รอดยิ้ม

31 May 2022

Life & Culture

3 Feb 2022

แตงอ่อน จันดาวงศ์ : ความรักของนักสู้ซึ่งอยู่อย่างยากลำบาก

กษิดิศ อนันทนาธร เล่าถึงชีวิตของ แตงอ่อน จันดาวงศ์ ภรรยานายครอง จันดาวงศ์ ผู้กล่าวประโยคอมตะ “เผด็จการจงพินาศ ประชาธิปไตยจงเจริญ”

กษิดิศ อนันทนาธร

3 Feb 2022

World

4 Oct 2021

กำแพงเบอร์ลิน วันชาติเยอรมนีและวัฒนธรรมป็อป สู่ ‘ความเป็นชาติ’ ที่แปรเปลี่ยน

3 ตุลาคม เป็นวันชาติเยอรมนี มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองเส้นทางการรวมชาติเยอรมนี นับแต่การก่อตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันที่รวบรวมรัฐที่ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งนำไปสู่คำถามว่า ‘ความเป็นเยอรมัน’ คืออะไร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

4 Oct 2021

Life & Culture

22 Jul 2021

ประเทศคอมมิวนิสต์ขี้เมาจริงหรือ?

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนสำรวจวัฒนธรรมการดื่มในประเทศคอมมิวนิสต์และอดีตคอมมิวนิสต์ เมื่อมุมมองต่อแอลกอฮอล์ของรัฐส่งผลไปถึงการควบคุมในสังคม

มัธธาณะ รอดยิ้ม

22 Jul 2021

World

15 Oct 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (2)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงเรื่องราวหลังจาก ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

15 Oct 2020

Life & Culture

6 Oct 2020

กลเมฆบังจันทร์

แมท ช่างสุพรรณ ย้อนอ่านเบื้องหลังวาทกรรม “ฆ่าคอมมิวนิสต์ไม่บาป” ในการเมืองช่วง 6 ตุลาคม 2519 ผ่านหนังสือบันทึกคำบรรยายของอาจารย์กิตติวุฑโฒ ภิกขุ เจ้าของวาทกรรมดังกล่าว

แมท ช่างสุพรรณ

6 Oct 2020

Issue of the Age

30 Apr 2020

โรคระบาดปั่น ลาตินอเมริกาป่วน กับ เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

101 ชวน ดร.เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ นักวิชาการด้านลาตินอเมริกาศึกษา สำรวจสถานการณ์ COVID-19 ในลาตินอเมริกา

วจนา วรรลยางกูร

30 Apr 2020

Film & Music

28 Mar 2020

The Silent Revolution หนุ่มสาว, อย่าให้เขาทุบทำลายเธอ

คอลัมน์หนังนอกรอบ วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง The Silent Revolution ภาพยนตร์ที่พูดถึงการต่อต้านด้วยความเงียบสองนาทีของนักเรียนในเยอรมนีตะวันออกช่วงสงครามเย็น

วจนา วรรลยางกูร

28 Mar 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save