fbpx

Politics

29 Oct 2020

คำถามถึงประเทศไทย จาก ‘Hakamada’ แพะผู้ต้องโทษประหารนานที่สุดในโลก

ปรัชญพล เลิศวิชา ชวนมองเรื่องโทษประหารชีวิตผ่านภาพยนตร์สารคดี ‘Hakamada’ ที่ตั้งคำถามถึงการเปิดโอกาสให้กระบวนการยุติธรรมที่ผิดพลาดมีบทลงโทษถึงประหารชีวิต

ปรัชญพล เลิศวิชา

29 Oct 2020

World

26 Oct 2020

ทำไมตำรวจอังกฤษจึงเป็นมิตรกับประชาชน

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงวัฒนธรรมและปรัชญาวิชาชีพตำรวจอังกฤษ ที่ทำให้ตำรวจอังกฤษได้รับการยกย่องว่าเป็นแบบอย่างที่ดี เพราะมีวิธีการรักษากฏหมายที่มีประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับของชุมชนในแต่ละพื้นที่

สมชัย สุวรรณบรรณ

26 Oct 2020

Asia

25 Oct 2020

ปัญหากระบวนการยุติธรรมในคดีข่มขืนของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงปัญหาความอยุติธรรมในคดีข่มขืนที่เมืองฮาทาสในอินเดีย ซึ่งพัวพันกับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางชนชั้นวรรณะและอคติทางเพศอย่างแยกไม่ออก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Oct 2020

Justice & Human Rights

5 Oct 2020

ความน่าจะอ่านในเรือนจำ และการเรียนรู้ของผู้ต้องขังหญิง เพื่อผู้ต้องขังหญิง

ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับการอ่านและการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำ

ชลิดา หนูหล้า

5 Oct 2020

Law

21 Sep 2020

ทางออกกรณีคำสั่งไม่ฟ้องคดีของอัยการที่ผิดพลาด

ปกป้อง ศรีสนิท ชวนสำรวจทางออกกรณีคำสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาผิดพลาดผ่านหลักการและแนวปฏิบัติในระบบกฎหมายฝรั่งเศส เยอรมนี และอังกฤษ

ปกป้อง ศรีสนิท

21 Sep 2020

Justice & Human Rights

17 Sep 2020

Justice Next Challenges: ความท้าทายใหม่ของระบบยุติธรรมไทย กับ กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

สำรวจความท้าทายใหม่ของระบบยุติธรรมไทย รวมถึงหาวิธียกระดับธรรมาภิบาลและฟื้นฟูหลักนิติธรรม กับ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้ผลักดันการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทยมาอย่างต่อเนื่อง

กองบรรณาธิการ

17 Sep 2020

Thai Politics

26 Aug 2020

ปฏิรูปสถาบันตุลาการ ล้มเสาหลักค้ำจุนเผด็จการ

แม้ข้อเรียกร้องการแก้ไขวิกฤตการเมืองจะมุ่งไปที่การแก้รัฐธรรมนูญ แต่เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง มองว่าหัวใจหลักของวิกฤตการเมืองไทย คือ สถาบันตุลาการ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

26 Aug 2020

Film & Music

31 May 2020

A Short Film About Killing การฆ่าแบบไหนที่ชอบธรรม

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง A Short Film About Killing ภาพยนตร์ที่ทำให้สังคมถกเถียงกันถึงเรื่องโทษประหารชีวิตเมื่อสามสิบกว่าปีที่แล้ว

วจนา วรรลยางกูร

31 May 2020

Law

20 May 2020

Immediacy: สิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (ที่หายไป)

ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึง หลักผู้พิพากษาต้องสัมผัสพยาน ซึ่งถูกรับรองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน แต่เป็นสิ่งที่หายไปจากกระบวนการยุติธรรมไทย

ปกป้อง ศรีสนิท

20 May 2020

Thai Politics

19 May 2020

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ: หนึ่งทศวรรษความตายแปลกหน้าในประวัติศาสตร์ไร้เสียง

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนนำนปช. หลังการปราบปรามการชุมนุมเสื้อแดงผ่านมา 10 ปี แต่ผู้เสียชีวิตยังเข้าไม่ถึงความยุติธรรม

วจนา วรรลยางกูร

19 May 2020

Justice & Human Rights

3 Apr 2020

นัทธี จิตสว่าง : 10 ปี ‘ข้อกำหนดกรุงเทพ’ และก้าวต่อไปเรือนจำไทย

คุยกับ ดร.นัทธี จิตสว่าง ถึง 10 ปี ‘ข้อกำหนดกรุงเทพ’ สำรวจสถานะปัจจุบันของเรือนจำไทย และมองไปยังอนาคตในการพัฒนาเชิงนโยบาย

วจนา วรรลยางกูร

3 Apr 2020

Law

24 Feb 2020

สิทธิของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ : หลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์

ปกป้อง ศรีสนิท ตอบคำถามว่า “ทำไมต้องคุ้มครองคนชั่วที่กระทำความผิด” จากหลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์ อันเป็นสิทธิของปวงชนชาวไทยที่ระบุไว้ตามรัฐธรรมนูญ

ปกป้อง ศรีสนิท

24 Feb 2020

Law

27 Dec 2019

จำคุกตลอดชีวิต ติดคุกจริงกี่ปี?

ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงกรณีฆาตกรต่อเนื่อง 6 ศพ ซึ่งสะท้อนให้เห็นปัญหาในกระบวนการปล่อยนักโทษก่อนกำหนด ทั้งโทษจำคุกตลอดชีวิต และโทษประหารชีวิต ซึ่งคนทั่วไปมักเข้าใจผิดว่านักโทษประเภทนี้ต้อง ‘แก่ตายในคุก’

ปกป้อง ศรีสนิท

27 Dec 2019

Justice & Human Rights

27 Dec 2019

สิทธิมนุษยชน 2019 : สูญหาย บานปลาย ห่างไกลความเป็นธรรม

วจนา วรรลยางกูร ชวนทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนและความเป็นธรรมในสังคมผ่านผลงานตลอดปี 2019 ของ 101 ที่ทำให้เห็นถึงปัญหารอบด้านอันเรียงร้อยกลายเป็นสังคมปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

27 Dec 2019
1 5 6 7 9

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save