fbpx

Justice & Human Rights

27 Nov 2019

กระบวนการยุติธรรมไทยในฟากฝั่งวิชาการ : คุยกับ วัลลภ นาคบัว ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการยุติธรรม

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ คุยกับ วัลลภ นาคบัว ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการยุติธรรม ว่าด้วยบทบาทเชิงวิชาการ และการปรับตัวของกระบวนการยุติธรรมไทยในวันที่โลกหมุนไปข้างหน้า

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

27 Nov 2019

Justice & Human Rights

11 Nov 2019

เปิดประตูสู่โลก (ไม่) มืดมิด : ทำความเข้าใจชีวิตใน ‘เรือนจำ’

ประมวลผลงานชุด ‘ชีวิตในเรือนจำ’ ซึ่งอาจช่วยลบภาพจำเดิมๆ เกี่ยวกับเรือนจำ รวมถึงผู้ต้องขัง ที่ไม่ได้มีแต่ความมืดมิดหรือเลวร้ายเสมอไป กระทั่งอาจเป็นแสงสว่างให้กับเราๆ ท่านๆ ที่อาศัยอยู่ในโลกสามัญได้ในบางแง่มุม

กองบรรณาธิการ

11 Nov 2019

Justice & Human Rights

23 Oct 2019

‘กรรมวิธีและการลงทัณฑ์’ ความเป็นธรรมของการใช้โทษประหารใน ‘ประเทศยกเว้น’

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงความเป็นธรรมของการใช้โทษประหารจากการมองปัญหาที่เกิดขึ้นในแวดวงความยุติธรรมซึ่งมีการใช้กฎหมายพิเศษและสามารถเกิดข้อผิดพลาดได้ไม่ว่าระบบนั้นจะรัดกุมเพียงใด

วจนา วรรลยางกูร

23 Oct 2019

Law

15 Oct 2019

คืนความเป็นอิสระให้ผู้พิพากษา คืนอำนาจตุลาการให้สังคม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงหลักการ ‘ความเป็นอิสระของฝ่ายตุลาการ’ ที่จำเป็นต้องมี ‘การถูกตรวจสอบและความรับผิด’ เป็นหลักการสำคัญเคียงคู่กัน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

15 Oct 2019

Talk Programmes

11 Oct 2019

101 One-on-One Ep.91 “ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย” กับ ปกป้อง ศรีสนิท

ร่วมค้นหาคำตอบเกี่ยวกับแนวทางปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย จากทฤษฎีสู่โลกจริง กับนักวิชาการชั้นนำด้านกฎหมายอาญา – ปกป้อง ศรีสนิท

101 One-on-One

11 Oct 2019

Videos

8 Oct 2019

SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า “เครียดส่วนตัว”

‘คณากร เพียรชนะ’ ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะชั้นต้นศาลจังหวัดยะลา ยิงตัวเอง กำลังสั่นสะเทือนวงการตุลาการไทย ในแถลงการณ์ 25 หน้าของเขาชี้ให้เห็นว่ามีการแทรกแซงกระบวนการยุติธรรม แต่โฆษกศาลยุติธรรม กลับชี้แจงว่าการยิงตัวเอง “เกิดจากความเครียดส่วนตัว”

ธิติ มีแต้ม

8 Oct 2019

Justice & Human Rights

4 Oct 2019

เมื่อความเหลื่อมล้ำ คือ ความอยุติธรรมที่ประจักษ์ชัดที่สุด

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจาก เวทีสาธารณะว่าด้วยหลักนิติธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืน ครั้งที่ 8 หัวข้อ ‘สานพลังมนุษยธรรม…สร้างสรรค์ความยุติธรรม’ ว่าด้วยการลดความเหลื่อมล้ำเพื่อเสริมสร้างความยุติธรรม

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

4 Oct 2019

Justice & Human Rights

23 Sep 2019

“ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมที่ดูดาย” – ศ.ดร.สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล

สนทนากับ ‘ศ.ดร.สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล’ ว่าด้วยปัญหาใหญ่ของกระบวนการยุติธรรมไทย อะไรคือความท้าทายใหม่ในการเปลี่ยนแปลง และจะปฏิรูปอย่างไรให้ระบบไม่ ‘ดูดาย’ คน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

23 Sep 2019

Justice & Human Rights

7 Aug 2019

‘ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์’ ทางเลือกในการระงับข้อพิพาทที่ ‘ยุติธรรม’ สำหรับทุกคน

101 เก็บความจาก ‘การประชุมระดับชาติว่าด้วยความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (National Symposium on Restorative Justice)’ จัดโดย TIJ และ UNODC ว่าด้วยแนวทางการใช้ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในประเทศไทย

กองบรรณาธิการ

7 Aug 2019

Law

4 Apr 2019

การพัฒนาบนหลักนิติธรรม: กฎหมายไม่ฉุดรั้ง เทคโนโลยีไม่ล้ำเส้น

วจนา วรรลยางกูร เก็บความจากเวทีสาธารณะระดับนานาชาติว่าด้วยหลักนิติธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ 7 ‘นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อความยุติธรรม’

วจนา วรรลยางกูร

4 Apr 2019

Projects

1 Apr 2019

การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม: สะพานเชื่อมสู่สังคมที่ ‘ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง’

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากเวิร์คชอป ‘TIJ-IGLP Workshop for Emerging Leaders’ ที่มีนักวิชาการด้านกฎหมายระดับโลก มาบรรยายเรื่องการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดยยกกรณีศึกษาทั้งในไทยและต่างประเทศที่น่าสนใจ และสะท้อนให้เห็นถึง ‘ความหวัง’ ที่ปลายอุโมงค์

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

1 Apr 2019

Projects

30 Mar 2019

Glenn Fajardo : ออกแบบกระบวนการยุติธรรมสำหรับทุกคน ด้วยแนวคิด Design Across Border

101 สนทนากับ Glenn Fajardo ผู้เชี่ยวชาญด้าน design thinking และเป็นผู้สอนรวมถึงออกแบบหลักสูตร design across border ที่ Stanford d.school เกี่ยวกับแก่นและการประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวในการแก้ปัญหาสังคม

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

30 Mar 2019

Law

12 Mar 2019

รับโทษ ไม่รับผิด : เผชิญหน้าอยุติธรรมจากอำนาจตุลาการ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชำแหละความบิดเบี้ยวและอยุติธรรมของอำนาจตุลาการ โดยเฉพาะในยุครัฐบาลเผด็จการ อันสะท้อนให้เห็นว่าการ ‘รับโทษ’ นั้นอาจไม่ได้มาคู่กับการ ‘รับผิด’ เสมอไป

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Mar 2019

Justice & Human Rights

26 Dec 2018

แลนด์มาร์คใหม่ หญิงไทยแห่เช็คอิน (เข้าคุก) จนล้น

คุณรู้หรือไม่ หญิงไทยคว้าแชมป์ อัตราการจำคุกในผู้หญิงสูงสุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังมีอัตราการจำคุกผู้หญิงสูงที่สุด
ผู้ต้องขังหญิงส่วนมากจะกระทำความผิดในคดีที่เบากว่าผู้ชาย บางคนมียาเสพติดไว้เสพกับคู่ครอง หรือบางคนโดนร่างแหเพราะคู่ของตนมียาเสพติดไว้ในครอบครอง หรือกรณีที่เลวร้ายที่สุดคือ ผู้หญิงบางคนโดนหลอกในเรื่องยาเสพติด โดยที่พวกเธอไม่ได้รู้เรื่องอะไรด้วยเลย!!!

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

26 Dec 2018

Media

21 Dec 2018

พี่ๆ ข่มขืนหนูซ้ำทำไม?

คุณว่าอะไรคือสิ่งที่ทำให้ผู้หญิงไม่กล้าเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม? คุณเคยตั้งคำถามหรือมีอคติกับผู้ที่เป็นเหยื่อความรุนแรงทางเพศหรือเปล่า? ทำไม การถามเหยื่อว่า “ทำไมแต่งตัวแบบนั้น ถึงเป็นคำถามท่ี่ไม่ควรถาม?” การตั้งคำถามแบบไหน ที่ช่วยฟื้นฟูจิตใจเหยื่อ?

กองบรรณาธิการ

21 Dec 2018
1 6 7 8 9

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save