fbpx

Justice & Human Rights

1 Apr 2019

เปิดห้องทดลอง: แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ ด้วยนวัตกรรมทางการเงิน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย สรุปเนื้อหาจากกิจกรรม ‘Problem Lab’ ว่าด้วยการให้บริการทางการเงินที่ทั่วถึงและความเหลื่อมล้ำ หนึ่งในกิจกรรมเวิร์คชอปที่ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) กับ The Institute for Global Law and Policy มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ร่วมกันจัดขึ้น

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

1 Apr 2019

Projects

1 Apr 2019

การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม: สะพานเชื่อมสู่สังคมที่ ‘ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง’

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากเวิร์คชอป ‘TIJ-IGLP Workshop for Emerging Leaders’ ที่มีนักวิชาการด้านกฎหมายระดับโลก มาบรรยายเรื่องการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดยยกกรณีศึกษาทั้งในไทยและต่างประเทศที่น่าสนใจ และสะท้อนให้เห็นถึง ‘ความหวัง’ ที่ปลายอุโมงค์

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

1 Apr 2019

Projects

30 Mar 2019

Glenn Fajardo : ออกแบบกระบวนการยุติธรรมสำหรับทุกคน ด้วยแนวคิด Design Across Border

101 สนทนากับ Glenn Fajardo ผู้เชี่ยวชาญด้าน design thinking และเป็นผู้สอนรวมถึงออกแบบหลักสูตร design across border ที่ Stanford d.school เกี่ยวกับแก่นและการประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวในการแก้ปัญหาสังคม

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

30 Mar 2019

Interviews

29 Mar 2019

5 ปีรัฐประหาร – 5 ปีปราบโกง ในสายตา ‘มานะ นิมิตรมงคล’

มานะ นิมิตรมงคล ประเมินผลงานด้านคอร์รัปชันในยุค คสช. ที่มีแนวโน้มปิดกั้นข้อมูลมากขึ้นและมีประเด็นน่ากังขาหลายเรื่อง

วจนา วรรลยางกูร

29 Mar 2019

Social Issues

27 Mar 2019

ข้าวโพด อ้อย สาเหตุหลักของหมอกควันพิษ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงต้นต้อสำคัญของปัญหาหมอกควันพิษในภาคเหนือ ซึ่งมาจากการเผาพืชไร่ โดยเฉพาะข้าวโพดและอ้อย ที่สร้างรายได้ให้บริษัทยักษ์ใหญ่เป็นกอบเป็นกำ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

27 Mar 2019

Projects

26 Mar 2019

เรื่องเล่าไร้พรมแดน : เข้าใจกระบวนการยุติธรรมด้วยเครื่องมือใหม่สำหรับเยาวชน – กันต์รวี กิตยารักษ์

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย คุยกับ กันต์รวี กิตยารักษ์ ผู้อยู่เบื้องหลังงาน ‘Youth Borderless Forum’ ที่คัดเลือกเยาวชนจากทั่วโลก มาร่วมเวิร์คชอปเรื่องหลักนิติธรรมและกระบวนการยุติธรรม ว่าด้วยที่มาที่ไปและผลลัพธ์จากงานในครั้งนี้

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

26 Mar 2019

Projects

25 Mar 2019

หลักนิติธรรมในโลกยุคใหม่ ในทัศนะของ David Kennedy

อาร์ม ตั้งนิรันดร คุยกับ เดวิด เคนเนดี้ แห่งคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ว่าด้วยหลักนิติธรรมในโลกยุคใหม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร

25 Mar 2019

Social Problems

21 Mar 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (30) : หมอกควันเป็นปัญหาระดับชาติ

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงปัญหาหมอกควัน ซึ่งเขามองว่าไม่ใช่เรื่องใหม่ หากแต่เริ่มปรากฏและยืดเยื้อมาสิบกว่าปี โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ อันสะท้อนว่าหลายต่อหลายรัฐบาลที่ผ่านมา ไม่ได้ใส่ใจหรือมีความสามารถพอที่จะแก้ปัญหานี้เลย

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

21 Mar 2019

Social Problems

17 Mar 2019

หรือเราคืออุรังอุตังตัวนั้น

สนิทสุดา เอกชัย เขียนถึงการต่อสู้ดิ้นรนของคนตัวเล็กๆ กับความฉ้อฉลของกลไกรัฐ โดยเฉพาะการต่อสู้ด้านทรัพยากร อันเปรียบเสมือนลิงอุรังอุตังในคลิปชื่อดัง ที่พยายามขวางรถแทรคเตอร์ด้วยมือเปล่า

สนิทสุดา เอกชัย

17 Mar 2019

Social Issues

15 Mar 2019

‘ประชาชนต้องไม่ถูกละเมิด’ คำสัญญาสิทธิมนุษยชนจากพรรคการเมือง

เปิดนโยบายสิทธิมนุษยชนของ 5 พรรคการเมือง ที่ให้สัญญาว่าจะผลักดันหลังการเลือกตั้ง เพื่อปกป้องสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในหลากมิติ

วจนา วรรลยางกูร

15 Mar 2019

Spotlights

14 Mar 2019

การเมืองเรื่องฝุ่น กับ เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง

101 สนทนาสดกับ เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง ผู้อำนวยการมูลนิธิบูรณะนิเวศ ในรายการ 101 One-on-One ว่าด้วยปัญหาฝุ่นในมิติทางสังคม ทั้งความเหลื่อมล้ำ สิทธิในอากาศสะอาด ความไม่เป็นธรรมในประเด็นสิ่งแวดล้อม กฎหมายโรงงาน และบทบาทในการแก้ปัญหาของภาคส่วนต่างๆ

กองบรรณาธิการ

14 Mar 2019

Interviews

8 Mar 2019

วารสารศาสตร์ยังไม่ตาย? : สำรวจชีพจรนักสื่อสารมวลชน กับ รุจน์ โกมลบุตร

คุยกับ รศ.รุจน์ โกมลบุตร ว่าด้วยความท้าทายของนักสื่อสารมวลชนยุคใหม่ โจทย์ใหม่ๆ ในการเรียนการสอนวิชาชีพสื่อ พร้อมประเมินชีพจรสื่อไทยในยุค คสช.

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2019

Social Problems

7 Mar 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (29) : หนักแผ่นดิน

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงอุดมการณ์ของนักศึกษาแพทย์ยุค 14 ตุลาฯ ซึ่งมีส่วนช่วยพลิกวงการสาธารณสุขได้อย่างอัศจรรย์ กระนั้นก็ไม่วายถูกตราหน้าว่า ‘หนักแผ่นดิน’

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

7 Mar 2019

Social Issues

5 Mar 2019

คุณภาพชีวิตที่มากกว่าเพียงอากาศบริสุทธิ์สำหรับหายใจ

ในวาระ 103 ปีชาตกาล (9 มีนาคม 2459 – 2562) ของป๋วย อึ๊งภากรณ์ กษิดิศ อนันทนาธร ชวนรำลึกถึงผู้มีวิสัยทัศน์ มาก่อนกาล ในมิติทางด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต

กษิดิศ อนันทนาธร

5 Mar 2019
1 64 65 66 81

MOST READ

Sustainability

19 Apr 2024

“Let me flow free” คำร้องขอจากลุ่มน้ำสาละวิน ถึง ‘เขื่อนน้ำยวม’ กัมปนาทในความเงียบ

101 ชวนไปสบตาคนจากลุ่มน้ำสาละวินที่แม่ฮ่องสอนและฟังเรื่องราวของพวกเขาถึงการมาเยือนของโครงการผันน้ำยวม

วจนา วรรลยางกูร

19 Apr 2024

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save