fbpx

Education

3 Apr 2017

เล่นเลโก้แล้วได้อะไร

โตแล้ว ยังจะมาเล่นตัวต่อแบบเลโก้กันอยู่ได้!
หลายคนอาจเคยได้ยินคำพูดแบบนี้ แต่ที่จริงแล้ว เลโก้นั้นมี ‘สาระ’ และ ‘ประโยชน์’ อยู่ไม่น้อย
ถ้าไม่เชื่อ ก็โปรดเลื่อนลงไปอ่านดูกันได้เลย

วชิรวิทย์ คงคาลัย

3 Apr 2017

Education

29 Mar 2017

ครูต้องเรียนจบครูมาก่อนหรือไม่?

ในการสอบแข่งขันบรรจุข้าราชการครูปี 2560 กระทรวงศึกษาธิการเปิดโอกาสให้ผู้จบการศึกษาจากสาขาอื่นที่ไม่ใช่ศึกษาศาสตร์สมัครเข้าสอบได้ จากเดิมที่เปิดรับเฉพาะผู้จบคณะศึกษาศาสตร์เท่านั้น

คำถามร้อนของแวดวงการศึกษาไทยในวันนี้จึงได้แก่ “ครูต้องเรียนจบครูมาก่อนหรือไม่?” ศุภณัฏฐ์ ศศิวุฒิวัฒน์ นักวิจัยอาวุโสด้านการศึกษาของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) เสนอหลักคิดในการมองปัญหาเรื่องการรับครู คำถามที่ควรถาม และคำตอบที่ทุกฝ่ายในแวดวงการศึกษาควรพิจารณา!

ศุภณัฏฐ์ ศศิวุฒิวัฒน์

29 Mar 2017

Anti-Corruption

22 Mar 2017

ทำไมคนเราสองมาตรฐาน

เคยสงสัยไหมว่า ทำไมบางคนที่ต่อต้านคอร์รัปชันสุดลิ่มทิ่มประตู เกลียดนักการเมืองขี้โกงยิ่งกว่าสัตว์เลื้อยคลาน ถึงไม่รังเกียจตัวเองขณะยื่นแบงค์ร้อยให้ตำรวจเวลาถูกจับ ทั้งที่มันก็เป็นความ ‘ผิด-หลง’ แบบเดียวกันนั่นแหละ!

สมคิด พุทธศรี

22 Mar 2017

Anti-Corruption

21 Mar 2017

เรื่องใสๆ ของข้อมูล สู่สังคมใสๆ ไร้คอร์รัปชัน

รัฐบาลคือหนึ่งในผู้ครอบครองข้อมูลที่ใหญ่ที่สุด แต่รัฐชอบปกปิดข้อมูลเอาไว้ลับๆ ซึ่งในบางแง่มุมก็ถูกอ้างว่าเป็นไปเพื่อความมั่นคง แต่ในอีกด้าน การปิดลับพวกนี้ก็ทำให้เกิดการคอร์รัปชันได้โดยคนอื่นไม่รู้ (ก็งบลับต่างๆน่ะ-ใครตรวจสอบได้บ้าง!) คำถามก็คือ การเปิดเผยข้อมูลต่างๆสู่สาธารณะ จะช่วยลดการคอร์รัปชันลดลงได้หรือเปล่า?

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

21 Mar 2017

Education

21 Mar 2017

จุดจบของมหาวิทยาลัย? MOOC กับความท้าทายใหม่ในโลกการศึกษา

ในยุค MOOC หรือ Massive Open Online Course มาแรงแซงทุกโค้ง โลกธุรกิจการศึกษาต้องปรับตัวอย่างไร นักเรียนออนไลน์เป็นใคร วิชาอะไรดี วิชาอะไรโดน แล้วมหาวิทยาลัยใกล้ตายหรือยัง!

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ อาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชวนคิดเรื่องความท้าทายใหม่ในโลกการเรียนรู้

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

21 Mar 2017

Anti-Corruption

17 Mar 2017

จะแก้ปัญหาคอร์รัปชัน ต้องเริ่มที่ความไม่เท่าเทียมในสังคม

คอร์รัปชันทำร้ายคนจนมากกว่าคนรวย เพื่อจะเข้าถึงบริการสาธารณะ คนจนต้องเจอกับการหลอกลวงและการเรียกร้องสินบนมากกว่าคนรวย ในขณะที่ผลประโยชน์จากการคอร์รัปชัน มักจะส่งผ่านไปถึงคนที่มีสายสัมพันธ์ในสังคมที่ดีกว่า-ซึ่งก็คือคนรวยนั่นเอง

กองบรรณาธิการ

17 Mar 2017

Sustainability

14 Mar 2017

Freeganism ขบวนการเก็บขยะเพื่อโลก

คุณเคยได้ยินคำว่า Freegan ไหมครับ ฟรีแกน มาจากคำว่า Free ผสมกับ Vegan แต่ถ้า Vegan คือคนที่กินแต่ผัก Freegan ก็คือคนที่ถ้าทำได้ ก็จะเลือกกินเลือกบริโภคแต่ ‘ของฟรี’

กองบรรณาธิการ

14 Mar 2017

Anti-Corruption

13 Mar 2017

คอร์รัปชันกับเสรีภาพสื่อ : ความฝัน

คอร์รัปชันกับเสรีภาพสื่อ เป็นสองเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกันตรงไหนน่ะหรือ ก็เกี่ยวกันตรงที่ สื่อต้องทำหน้าที่ ‘ตรวจสอบ’ เพื่อให้เกิดการคอร์รัปชันน้อยที่สุดน่ะสิ เพราะฉะนั้น เราเลยอยากชวนคุณมาดู ‘ผลการประกวด’ ในสองเรื่องนี้ ว่าประเทศไทยอยู่ตรงไหนในเวทีโลก

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

13 Mar 2017

Anti-Corruption

3 Mar 2017

คอร์รัปชันแบบไหนดี (ก็ไม่ดีทั้งนั้นแหละ!)

มีคนบอกว่า มนุษย์เราคอร์รัปชันกันสองแบบใหญ่ๆ แบบแรกเหมือนการค่อยๆ ‘ลงเหว’ ไปทีละนิดๆ คือค่อยๆ ฉ้อค่อยๆ ฉลทีละเล็กละน้อย แต่ทำบ่อยๆ กับอีกแบบหนึ่งคือร่วงหล่นลงหน้าผาไปพรวดเดียวเลย คือปกติแล้วจะไม่ฉ้อฉลอะไร แต่ถ้ามีโอกาสคอร์รัปชันแล้วได้ประโยชน์ก้อนโต ก็อาจจะทำ เรียกว่าทำทีเดียวรวยไปเลย

กองบรรณาธิการ

3 Mar 2017

Social Issues

22 Feb 2017

ขายความโปร่งใส เทรนด์ธุรกิจที่กำลังมา

ในยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร ผู้บริโภคมีความตื่นตัวมากขึ้น จะซื้อสินค้าอะไรก็ต้องเสิร์ชหาข้อมูล อ่านรีวิว อย่างละเอียด ไม่ใช่แค่เปรียบเทียบคุณภาพและราคาเพื่อให้ได้ของที่คุ้มโดนใจที่สุดเท่านั้น เทรนด์ที่กำลังมาในตอนนี้คือการที่ผู้บริโภคต้องการรู้ทุกอย่างเกี่ยวกับสินค้า!
ดังนั้นธุรกิจที่จะอยู่รอดคือธุรกิจที่สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้บริโภคได้ และกลยุทธ์ที่ธุรกิจทั่วโลกต่างกำลังงัดมาใช้ก็คือการขาย “ความโปร่งใส” นั่นเอง

ภัทชา ด้วงกลัด

22 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017
1 80 81

MOST READ

Sustainability

19 Apr 2024

“Let me flow free” คำร้องขอจากลุ่มน้ำสาละวิน ถึง ‘เขื่อนน้ำยวม’ กัมปนาทในความเงียบ

101 ชวนไปสบตาคนจากลุ่มน้ำสาละวินที่แม่ฮ่องสอนและฟังเรื่องราวของพวกเขาถึงการมาเยือนของโครงการผันน้ำยวม

วจนา วรรลยางกูร

19 Apr 2024

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save