fbpx

Life & Culture

13 Mar 2017

ได้เวลายาคุมผู้ชาย!

สาวไทยเพิ่งโดนเชียร์ให้กินยาแก้มแดงเพิ่มประชากร แต่สากลโลกกำลังหาวิธีคุมประชากรโลกที่มากเกินพอดีด้วยความพยายามคิดค้นยาคุมกำเนิดเพื่อหนุ่มๆ โดยเฉพาะ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

13 Mar 2017

Lifestyle

10 Mar 2017

Beta Culture : วัฒนธรรม (ไม่) สมบูรณ์

101 เริ่มสัปดาห์แรกของการเปิดเว็บแห่งนี้ด้วย Beta Horizon Issue คือการ ‘ทดลอง’ เปิดเส้นขอบฟ้าของเราออกมา อ่านเรื่องต่างๆ มาทั้งสัปดาห์แล้ว คุณสงสัยไหมว่า คำว่า ‘เบต้า’ ที่ว่า มันคืออะไรกันแน่ วชิรวิทย์ คงคาลัย จะมาไขคำตอบของคำว่า ‘เบต้า’ ให้คุณฟัง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

โตมร ศุขปรีชา : เพราะการอ่านเป็นเรื่อง ‘อัตวิสัย’

โตมร ศุขปรีชา เป็นตัวแทนจาก 101 เข้าไปเป็นหนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เขาออกตัวว่าน่าจะเป็นกรรมการสาย ‘(สู่) รู้ทุกเรื่อง-แต่ไม่รู้จริงสักเรื่อง’ แต่ถ้าดูจากงานที่เขาทำ เราจะเห็นว่าคำว่า Well-Rounded น่าจะเหมาะสมกับตัวเขามากที่สุด และดังนั้น เขาจึงน่าจะเป็นตัวแทน ‘ความน่าจะอ่าน’ ในอีกรูปแบบหนึ่งได้เป็นอย่างดี

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล : เมื่อเสพสื่อดิจิตอลจนล้า คนจะกลับมาอ่านหนังสือเล่ม

แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ที่อายุน้อยที่สุด ด้วยเหตุนี้ เขาจึงถูกยัดเยียดความเป็น ‘ตัวแทนคนรุ่นใหม่’ ให้โดยปริยาย แต่ถ้าดูจากหนังสือที่แชมป์ชอบอ่าน จะพบว่าเขาชอบหนังสือที่เกี่ยวกับโลกยุคใหม่ เทรนด์ เทคโนโลยี และเรื่องเชิงสังคมที่คนทั่วไปอาจรู้สึกว่าย่อยยาก แชมป์จึงเป็นตัวแทนหนังสือแนว non-fiction ไปพร้อมกับความเป็นคนรุ่นใหม่ด้วย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

ทราย เจริญปุระ : การอ่านไม่เห็นต้องปีนบันได

ในการพบปะกันครั้งแรก ทราย เจริญปุระ เป็นผู้ที่บอกว่า “โปรเจ็กต์นี้นี้น่าจะเรียกว่า ‘ความน่าจะอ่าน’ เนอะ” แล้วโปรเจ็กต์นี้ก็ได้ชื่อนี้ขึ้นมาจริงๆ เป็นชื่อที่เหมาะมากกับโปรเจ็กต์ทั้งหมด น่าจะพูดได้ว่า ทรายเป็นนักอ่านที่อ่านหนังสือกว้างขวางที่สุดในบรรดากรรมการทั้งหมด เธอบอกว่าตัวเองเป็นตัวแทนของ ‘นักอ่านสายป๊อบ’ ซึ่งก็มาเป็นจิ๊กซอว์ให้กับคณะกรรมการทั้งหมดได้ลงตัวอย่างยิ่ง

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

10 Mar 2017

Issue of the Age

9 Mar 2017

เมื่อหุ่นยนต์เริ่มคล้ายมนุษย์ : อะไรคือจุดเริ่มต้นของความคล้าย

บางครั้งเราอาจจะรู้สึกสับสนว่าสิ่งนี้เป็นมนุษย์หรือเป็นหุ่นยนต์กันแน่ มาดูกันว่าอะไรที่ทำให้เรามองว่ามนุษย์กับหุ่นยนต์เริ่มมีความคล้ายกัน

วิโรจน์ สุขพิศาล

9 Mar 2017

Books

9 Mar 2017

สฤณี อาชวานันทกุล : คุณค่าทางวรรณกรรม ใครเป็นคนกำหนด?

สฤณี อาชวานันทกุล หนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ชวนเรามาตั้งคำถามว่า ‘คุณค่า’ ของรางวัลวรรณกรรมต่างๆ คืออะไร ประเด็นนี้ไม่เพียงสำคัญ แต่ยังชวนเราตั้งคำถามกับสิ่งที่เป็นอยู่ เพื่อก้าวสู่ความน่าจะเป็นในอนาคตด้วย

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

9 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

นิวัต พุทธประสาท : คนทำหนังสือยุคนี้ ควรมีทัศนคติที่ดีต่อสื่อออนไลน์

นิวัตเป็นทั้งนักเขียน นักอ่าน และบรรณาธิการที่ทำงานด้านวรรณกรรมไทยมากว่า 20 ปี เขาบอกว่าสื่อออนไลน์คืออาวุธที่ต้องใช้เพื่อเข้าถึงคนอ่านให้กว้างที่สุด ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไม 101 จึงเชื้อเชิญเขามาร่วมเป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เพื่อร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ติดตามความคิดของเขาได้-ที่นี่!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน กับการแนะนำหนังสือที่ ‘เอาแต่ใจที่สุด’

‘ความน่าจะอ่าน’ เกิดขึ้นด้วยแนวคิดที่ผสมกันระหว่าง ‘การรีวิว’ และ ‘การให้รางวัล’ โดยมีคอนเซ็ปต์ง่ายๆว่า ไม่ต้องซีเรียสจริงจังนั่งกอดอกพยักหน้า ไม่ต้องเกรงบารมีผู้ทรงคุณวุฒิใดๆทั้งสิ้น ใครจะเชื่อไม่เชื่อก็สุดแล้วแต่ ชอบไม่ชอบก็แชร์กันได้ กับ 5 กรรมการ อย่าง นิวัต พุทธประสาท / สฤณี อาชวานันทกุล / ทราย เจริญปุระ / ทีปกร วุฒิพิทยามงคล และ โตมร ศุขปรีชา ที่ 101 ชวนมาคัดเลือกหนังสือแนะนำตามใจและความชอบของพวกเขาเองล้วนๆ

ถ้าอยากรู้ว่าคนเหล่านี้จะเลือกหนังสืออะไรมาแนะนำบ้าง-โปรดติดตาม!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

6 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน : ทำไมไม่อ่าน?

คนไทยอ่านหนังสือกันปีละกี่บรรทัด?

ถามคนแต่ละคน คงได้ตัวเลขที่แตกต่างกันไม่รู้จบ แต่ที่เห็นพ้องต้องกันแน่ๆ ก็คือการอ่านของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า-พวกเราชาวไทยนั้น, มันน้อยจริงๆ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

6 Mar 2017

Lifestyle

1 Mar 2017

ญี่ปุ่นก็มีมัมมี่ (พระ)

พูดถึงมัมมี่ ใครๆ ก็ต้องนึกถึงอียิปต์ทั้งนั้น แต่ไปญี่ปุ่นบ่อยๆ นี่ คุณรู้หรือเปล่าว่าญี่ปุ่นก็มีมัมมี่กับเขาเหมือนกัน
แต่เป็น ‘มัมมี่พระ’!

กองบรรณาธิการ

1 Mar 2017
1 174 175 176

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Life & Culture

22 Apr 2024

‘หลานม่า’ มูลค่าแห่งความห่วงหาอาทร

ในความรักและเอาใจช่วย ‘หลานม่า’ (2024) หนังยาวของ พัฒน์ บุญนิธิพัฒน์ มากแค่ไหน แต่นักวิจารณ์ภาพยนตร์อย่าง ‘กัลปพฤกษ์’ ก็ยังอยากท้วงติงถึงความไม่สมบูรณ์บางอย่างของหนังอยู่ดี ไม่ว่าจะจากบทหรือการแสดงก็ตาม

‘กัลปพฤกษ์’

22 Apr 2024

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save