fbpx

Life & Culture

22 Mar 2023

วิจักขณ์ พานิช: ว่าด้วยที่ทางของความศรัทธา ความรัก และความโกรธในยุคสมัยแห่งความสิ้นหวัง 

101 คุยกับ วิจักขณ์ พานิช ผู้อำนวยการสถาบันวัชรสิทธถึงมุมมองที่เขามีต่อศรัทธา การทำงานกับศรัทธาท่ามกลางสถานการณ์ที่บีบบังคับให้มนุษย์หมดศรัทธา รวมถึงคำถามที่หลายคนสงสัยว่าความศรัทธานั้นมีความหมายอย่างไรในการต่อสู้ทางการเมือง

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

22 Mar 2023

Life & Culture

16 Mar 2023

คนล้านนาเป็นไท/ไทย แต่กลายเป็นลาวเพราะการยัดเยียด

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ชวนทำความเข้าใจการเรียกตัวเองของชาวล้านนา ที่ไม่เคยเรียกว่าตัวเองว่า ‘ลาว’ ดังที่ชาวสยามเรียก โดยศึกษาผ่านเอกสารและหนังสือในประวัติศาสตร์

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Mar 2023

Life & Culture

14 Mar 2023

ลอกคราบความฝัน บ้านและครอบครัวสุขสันต์ของชนชั้นกลางไทย กับ ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว

101 คุยกับ ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว ว่าด้วยที่มาและความเปลี่ยนแปลงของภาพจำเรื่องบ้านคือที่พักพิงทางใจ ครอบครัวควรรักใคร่ปรองดองกันในสายตาชนชั้นกลางไทย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

14 Mar 2023

Life & Culture

28 Feb 2023

วิวัฒนาการของความรัก สู่ยุคสมัยแห่งคนเหงา คุยกับ ‘กิตติพล สรัคคานนท์’

101 ชวน กิตติพล สรัคคานนท์ นักเขียนและคอลัมนิสต์ ผู้เขียนหนังสือ ‘In Theories ในความรัก เราต่างเป็นนักทฤษฎี’ มาร่วมตอบคำถามความรักและค้นหานิยามความเหงา

กาญจนา ปลอดกรรม

28 Feb 2023

City

14 Feb 2023

กรุงเทพ เมืองร้างรัก: เมื่อเมืองไม่ดี… โอกาสพบรักดีๆ ของเยาวชนก็ไม่เกิด

คิด for คิดส์ ชวนมาสำรวจหัวใจ-เช็กสถานะความโสดของเยาวชนกรุงเทพฯ พร้อมร่วมขบคิดว่าทำไมเยาวชนกรุงเทพฯ ถึงโสดกันเสียส่วนใหญ่? ทำไมมหานครแห่งนี้ไม่เอื้อให้พบรักดีๆ ได้เท่าใดนัก?

วรดร เลิศรัตน์

14 Feb 2023

Life & Culture

12 Feb 2023

‘ตำนาน’ ไม่ใช่ ‘ตำนาน’ ในประวัติศาสตร์นิพนธ์ล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึง ‘ตำนาน’ ของล้านนาที่ไม่ได้หมายถึงเรื่องเล่าพื้นบ้าน แต่มีลักษณะใกล้เคียงกับพงศาวดาร ซึ่งมีวิธีเรียบเรียงประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

12 Feb 2023

Life & Culture

15 Dec 2022

คำแห่งปี 2022 บันทึกประวัติศาสตร์แห่งยุคสมัย

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึง คำแห่งปี 2022 จากสำนักพจนานุกรมต่างประเทศ แต่ละคำบ่งบอกและช่วยบันทึกช่วงเวลานั้นๆ และกลายเป็นประวัติศาสตร์บอกเรื่องราวยุคสมัยได้อย่างน่าสนใจ

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Dec 2022

Life & Culture

8 Nov 2022

ตำนานล้านนากับบ้านเมืองก่อนมีราชอาณาจักร

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงตำนานสิงหนติ ที่เล่าความเป็นมาของเมืองโยนกเชียงแสน แว่นแคว้นโบราณของชาวล้านนาที่เคยตั้งขึ้นและล่มสลายไปก่อนหน้าที่จะมีการสถาปนาอาณาจักรล้านนาอย่างเป็นทางการ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

8 Nov 2022

Life & Culture

28 Oct 2022

แก่ให้ช้า เจ็บให้สั้น ตายให้ไว: นิยามใหม่ของคุณภาพชีวิตที่ดี

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความหมายของคุณภาพชีวิตที่ดีที่เปลี่ยนไปในยุคสมัยที่โลกกำลังเข้าสู่สังคมสูงวัย

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

28 Oct 2022

Life & Culture

5 Oct 2022

นวราตรี 2022 การกลับมาอีกครั้งของขบวนแห่ วัดแขก

เทศกาลนวราตรี (Navaratri) คือประเพณีงานแห่ขบวนประจำปีของวัดพระศรีมหาอุมาเทวี หรือวัดแขก มีขึ้นเพื่อแสดงความเคารพบูชาแก่พระแม่อุมาเทวี หรือพระแม่ทุรคาทั้งเก้าปาง

เมธิชัย เตียวนะ

5 Oct 2022

Life & Culture

22 Sep 2022

Trolley problem #3: ถ้าเราไม่อยากตาย เราก็ไม่ควรเลือกให้คนอื่นไปตาย – คำตอบที่เหมือนจะช่วยแก้ปัญหารถราง

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง สาเหตุที่คำตอบของปัญหารถราง “ถ้าคุณไม่อยากตาย ก็ไม่ควรส่งคนอื่นไปตาย” ล้มเหลว ด้วยข้อเสนอของ F. M. Kamm ที่ว่า คำตอบของปัญหารางรางแบบสามทางเลือกจะไม่ส่งต่อมาในกรณีสองทางเลือก และการแยกระหว่าง ‘สิ่งที่ควรทำ’ กับ ‘ภาระในการทำ’

ตะวัน มานะกุล

22 Sep 2022

Life & Culture

11 Sep 2022

ปัญญาของคนล้านนา – ความรู้ของสามัญชน

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เปิดคอลัมน์ใหม่ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ ว่าด้วยประวัติศาสตร์ล้านนา ประเดิมตอนแรกว่าด้วยรากทางวัฒนธรรมที่ทำให้ล้านนาเป็นเมืองแห่ง ‘เรื่องเล่า’

พริษฐ์ ชิวารักษ์

11 Sep 2022

Life & Culture

8 Aug 2022

Trolley problem #2: ‘ฆ่า’ กับ ‘ปล่อยให้ตาย’ – ทางเลือกที่ดูเหมือนจะมีคำตอบทางจริยศาสตร์

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง หลักที่ให้คำตอบที่ถูกต้องใน ‘Trolley problem’ หรือ ‘ปัญหารถราง’ ของ Phililipa Foot ว่า ‘การทำร้าย’ ใครสักคนนั้นผิดเสมอ ในขณะที่ ‘การปล่อยภัยร้ายให้ดำเนินไป’ โดยไม่เข้าไปช่วยเหลือนั้นผิดน้อยกว่า และอีกโจทย์ปัญหารถรางที่คำตอบของ Foot ตอบไม่ได้

ตะวัน มานะกุล

8 Aug 2022

Life & Culture

5 Aug 2022

ความทุกข์ตรมของชาว ‘Content Creators’  ในโลกที่อัลกอริธึมพร้อมจะทอดทิ้งคุณตลอดเวลา

โลกของคนทำคอนเทนต์หรือ Content Creators ที่ต้องหาทางรับมือกับความผันผวนของอัลกอริธึมทางแพลตฟอร์มต่างๆ โดยเฉพาะการหาทางเรียกยอดเอนเกจเมนต์ จนหลายคนเกิดภาวะสูญสิ้นตัวตน ซึ่งไม่เพียงแต่ทำให้เกลียดงานที่ทำ แต่อาจหมายถึงการเกลียดตัวเองด้วย

แล้วเราจะอยู่ในโลกที่เดือดดาลขนาดนี้ได้อย่างไร

พิมพ์ชนก พุกสุข

5 Aug 2022

Human & Society

3 Aug 2022

‘ประวัติศาสตร์ที่สนุก คือประวัติศาสตร์ที่มีความเป็นมนุษย์’ กษิดิศ อนันทนาธร

101 สนทนากับ กษิดิศ อนันทนาธร ว่าด้วยความสนุกของการศึกษาประวัติศาสตร์การเมืองและชีวประวัติบุคคล ไปจนถึงการถอดบทเรียนมองภาพการเมืองไทยในปัจจุบัน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

3 Aug 2022
1 3 4 5 14

MOST READ

Documentary

8 Apr 2024

ความลับบนขอบที่ราบสูง: ร่องรอยเสียงทวารวดีในเรื่องเล่าของชาวญัฮกุร

เรื่องราวของชาวญัฮกุร กลุ่มคนที่ยังพูดภาษามอญโบราณที่ อ.เทพสถิต และมีประวัติศาสตร์เชื่อมโยงกับเส้นทางการค้าบนขอบที่ราบสูง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

8 Apr 2024

Life & Culture

3 Apr 2024

‘กองทัพไทยเริ่มต้นด้วยการรบภายใน ไม่ใช่ศัตรูภายนอก’ กระบวนการของกองทัพสมัยใหม่ในการปราบกบฏผู้มีบุญ

จากเรื่องราวการต่อสู้ของกบฏผู้มีบุญ สู่การเปิดประวัติศาสตร์การสร้างกองทัพสมัยใหม่ของสยามในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์

กองบรรณาธิการ

3 Apr 2024

Life & Culture

16 Apr 2024

สมมติฐานว่าด้วยหนงจื้อเกากับประวัติศาสตร์ล้านนา (1)

พริษฐ์ ชิวารักษ์ เล่าชีวประวัติของ ‘หนงจื้อเกา’ วีรบุรุษในตำนานชาวไท ที่นักศึกษาไทคดีและล้านนาคดีบางส่วนเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save