fbpx

Life & Culture

20 Jun 2023

Inner Art : เปลี่ยนความกลัวเป็นพลังแห่งความกล้า เติบโตอย่างงดงามด้วยจังหวะชีวิตตัวเอง

101 พูดคุยกับผู้เข้ารับการอบรมศิลปะด้านใน ที่นำแนวทางศิลปะแนวมนุษยปรัชญามาผสานในการใช้ชีวิต ไปจนถึงการดูแลและพัฒนาเด็กเล็ก ถึงความสำคัญของการนำศิลปะมาทำงานกับเด็ก ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในหัวใจ รวมถึงโลกและธรรมชาติที่แปรเปลี่ยนไปหลังพวกเขาได้รู้จักกับเส้นทางศิลปะด้านใน

กองบรรณาธิการ

20 Jun 2023

Life & Culture

16 Jun 2023

คำปาฐกถาเรื่อง ‘เขียนสังคมใหม่ เขียนประวัติศาสตร์ประชาชน’ หรือ ‘เขียนประวัติศาสตร์ชาติด้วยประวัติศาสตร์ประชาชน’

คำปาฐกถาของพริษฐ์ ชิวารักษ์ ที่ไม่มีโอกาสได้กล่าวในโครงการประชุมวิชาการในวาระครบรอบ 55 ปี ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Jun 2023

Documentary

12 Jun 2023

มรดกเวียดนามในอุดรธานี

101 ชวนทำความรู้จัก ‘วิถีเวียดนาม’ ในจังหวัดอุดรธานีที่ปรากฏในภาษา อาหาร เสื้อผ้า ไปจนถึงพิธีกรรมส่งผู้วายชนม์ ผ่านเรื่องเล่าของคนไทยเชื้อสายเวียดนาม ในสารคดีเรื่อง ‘มรดกเวียดนามในอุดรธานี’

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

12 Jun 2023

Life & Culture

9 Jun 2023

ช้างเผือก: สัญลักษณ์อาณานิคมประจำจังหวัดเชียงใหม่

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึง ‘ช้างเผือก’ สัญลักษณ์ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ที่ในอีกมุมหนึ่งก็เป็นสัญลักษณ์ที่ได้รับอิทธิพลจากการตกเป็นอาณานิคมสยามของล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

9 Jun 2023

Life & Culture

31 May 2023

‘ศิลปะนอกกรอบการตัดสิน’ ครู ศิลปะด้านใน และการเพิ่มความเป็นมนุษย์เข้าไปในการเลี้ยงเด็ก 

เนื้อหาจากงานสัมมนา ‘ศิลปะด้านใน : การเติบโตของผู้ทํางานที่โอบอุ้มเด็กในสถานะด้านจิตวิญญาณ’ ที่จะพาคุณเข้าถึงความงามในโลกที่เป็นศิลปะและเข้าถึงสุนทรียภาพในใจของตนผ่านการบ่มเพาะฝึกฝนศิลปะรูปแบบต่างๆ ตามแนวทางมนุษยปรัชญา

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

31 May 2023

Thai Politics

29 May 2023

ท่องเหลาจีน ส่องจานเจ๊ก ยุคปฏิวัติ 2475

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ ชวนทำความรู้จัก ‘เหลาจีน’ ชื่อดังในสมัยปฏิวัติ 2475 และสำรับอาหารจีนที่ปรากฏบนโต๊ะอาหารชาวไทยมาช้านาน

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

29 May 2023

Interviews

28 May 2023

ความ ‘ไทยๆ’ ในโลกที่มีพระเจ้าหลายองค์: อ่านชีวิตและความคิดของเรเชล แฮร์ริสัน

101 คุยกับ เรเชล แฮร์ริสัน ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาไทยศึกษาที่ SOAS ว่าด้วยมุมมองต่อสังคมไทย การเรียนการสอนวัฒนธรรมศึกษาไทยในอังกฤษ และชีวิต-ความคิดของเธอ

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

28 May 2023

Life & Culture

24 May 2023

“ตัวกู-ของกู” คำสอนพุทธทาสสไตล์ไลฟ์โค้ชอันมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ตัวกู-ของกู’ หนังสือที่รวบรวมคำสอนของพุทธทาสภิกขุช่วงทศวรรษ 2500 ประดุจคู่มือ ‘ไลฟ์โค้ช’ ให้ชาวพุทธหันมาทำความเข้าใจพุทธศาสนาและเส้นทางการบรรลุธรรมที่แสนจะมีคุณค่าต่อชีวิตและสังคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

24 May 2023

Life & Culture

21 May 2023

‘ว่างแผ่นดิน’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ ชวนสนทนากับหนังสือ ‘ว่างแผ่นดิน’ โดยนิธิ เอียวศรีวงศ์ ว่าด้วยประวัติศาสตร์ช่วง ‘ว่างแผ่นดิน’ ของอยุธยา อังวะ และด่ายเหวียด และชวนมองไปถึงล้านนาที่ไม่ถูกเขียนถึงในหนังสือเล่มนี้

พริษฐ์ ชิวารักษ์

21 May 2023

Life & Culture

6 Apr 2023

รัฐประหารวันจักรี: ยึดอำนาจกรุงธนบุรี สะเทือนถึงล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ พาไปรู้จักเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเจ้าทางล้านนาหลังจาก ‘การรัฐประหารครั้งใหญ่’ ในปลายยุคธนบุรี ซึ่งเป็นจุดกำเนิดวันจักรีในปัจจุบัน เรื่องราวนี้เชื่อมโยงกับเจ้าทางล้านนาอย่างไร

พริษฐ์ ชิวารักษ์

6 Apr 2023

Life & Culture

22 Mar 2023

วิจักขณ์ พานิช: ว่าด้วยที่ทางของความศรัทธา ความรัก และความโกรธในยุคสมัยแห่งความสิ้นหวัง 

101 คุยกับ วิจักขณ์ พานิช ผู้อำนวยการสถาบันวัชรสิทธถึงมุมมองที่เขามีต่อศรัทธา การทำงานกับศรัทธาท่ามกลางสถานการณ์ที่บีบบังคับให้มนุษย์หมดศรัทธา รวมถึงคำถามที่หลายคนสงสัยว่าความศรัทธานั้นมีความหมายอย่างไรในการต่อสู้ทางการเมือง

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

22 Mar 2023

Life & Culture

16 Mar 2023

คนล้านนาเป็นไท/ไทย แต่กลายเป็นลาวเพราะการยัดเยียด

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ชวนทำความเข้าใจการเรียกตัวเองของชาวล้านนา ที่ไม่เคยเรียกว่าตัวเองว่า ‘ลาว’ ดังที่ชาวสยามเรียก โดยศึกษาผ่านเอกสารและหนังสือในประวัติศาสตร์

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Mar 2023

Life & Culture

14 Mar 2023

ลอกคราบความฝัน บ้านและครอบครัวสุขสันต์ของชนชั้นกลางไทย กับ ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว

101 คุยกับ ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว ว่าด้วยที่มาและความเปลี่ยนแปลงของภาพจำเรื่องบ้านคือที่พักพิงทางใจ ครอบครัวควรรักใคร่ปรองดองกันในสายตาชนชั้นกลางไทย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

14 Mar 2023

Life & Culture

28 Feb 2023

วิวัฒนาการของความรัก สู่ยุคสมัยแห่งคนเหงา คุยกับ ‘กิตติพล สรัคคานนท์’

101 ชวน กิตติพล สรัคคานนท์ นักเขียนและคอลัมนิสต์ ผู้เขียนหนังสือ ‘In Theories ในความรัก เราต่างเป็นนักทฤษฎี’ มาร่วมตอบคำถามความรักและค้นหานิยามความเหงา

กาญจนา ปลอดกรรม

28 Feb 2023

City

14 Feb 2023

กรุงเทพ เมืองร้างรัก: เมื่อเมืองไม่ดี… โอกาสพบรักดีๆ ของเยาวชนก็ไม่เกิด

คิด for คิดส์ ชวนมาสำรวจหัวใจ-เช็กสถานะความโสดของเยาวชนกรุงเทพฯ พร้อมร่วมขบคิดว่าทำไมเยาวชนกรุงเทพฯ ถึงโสดกันเสียส่วนใหญ่? ทำไมมหานครแห่งนี้ไม่เอื้อให้พบรักดีๆ ได้เท่าใดนัก?

วรดร เลิศรัตน์

14 Feb 2023
1 2 3 4 13

MOST READ

Law

6 Mar 2024

บทบาทของเนติบัณฑิตหญิงคนแรกในการจัดทำกฎหมายครอบครัวสมัยใหม่ของไทย

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์ ชวนมองบทบาทของคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ในการยกร่างกฎหมายครอบครัว ท่ามกลางบรรยากาศที่กระบวนการร่างกฎหมายอยู่ในมือของผู้ชายเป็นส่วนใหญ่

ไชยพัฒน์ ธรรมชุตินันท์

6 Mar 2024

World

19 Mar 2024

ผ้าโปเล็ง : สำรวจปรัชญาที่ซุกซ่อนอยู่ใต้ผ้าขาวม้าขาวดำของบาหลี

อรอนงค์ ทิพย์พิมล พาเราไปสำรวจ ‘ผ้าโปเล็ง’ ผ้าขาวม้าสีขาวดำจากบาหลี ที่เป็นมากกว่าผ้าขาวม้าธรรมดาทั่วไป เพราะมีปรัชญาซุกซ่อนอยู่เบื้องหลัง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Mar 2024

Life & Culture

26 Mar 2024

ไม่ยาก ถ้าอยากเป็น ‘วัยรุ่นเทสต์ดี’ : เข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป กับการพยายามอยากเป็น ‘คนอื่น’ บนโลกออนไลน์

101 พาเข้าใจจักรวาลซื้อขายรูป ‘เทสต์ดี’ จักรวาลที่เปิดโอกาสให้ทุกคนซื้อและขายรูป ‘ชีวิตดีย์’ ทุกรูปแบบ พร้อมชวนตั้งคำถามว่าปรากฏการณ์นี้สะท้อนสังคมอย่างไร

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

26 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save