fbpx

Issue of the Age

12 May 2020

ราษฎร์ลำเค็ญบนราชดำเนิน

สำรวจชีวิตผู้คนบนถนนราชดำเนิน ถนนข้าวสาร รามบุตรี หลังวิกฤตโควิดพัดความเปลี่ยนแปลงในชีวิตมาด้วย คนไร้บ้าน แม่ค้าร้านตลาด ไปจนถึงเจ้าของกิจการ อยู่กันอย่างไรในภาวะเช่นนี้

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

12 May 2020

Business

11 May 2020

Readjust ปรับตัวเพื่อเดินหน้าต่อไป มองโลกธุรกิจใหม่หลัง COVID-19 กับ อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

101 ชวนสำรวจโลกธุรกิจใหม่หลัง COVID-19 กับอิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ มองการปรับตัวครั้งสำคัญของแวดวงธุรกิจต่างๆ ในช่วงที่ผ่านมาและที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

11 May 2020

Global Affairs

11 May 2020

มนุษย์โควิด กับ มนุษย์อโควิด: การแบ่งชนชั้นใหม่ในโลกระบาด?

อาร์ม ตั้งนิรันดร ชวนมองอนาคตที่อาจเกิดขึ้นในยุคโควิด-19 ที่โลกและประชากรถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ ‘กลุ่มโควิด’ และ ‘กลุ่มอโควิด’

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 May 2020

Spotlights

9 May 2020

101 In Focus Ep.38 : 8 นักคิด 8 จักรวาลความคิด มองโลกยุค COVID-19

101 in Focus ชวนคุณผู้ฟังสำรวจส่วนหนึ่งของแนวคิดและข้อถกเถียงจาก 8 นักคิดชั้นนำระดับโลก ว่าวิกฤต COVID-19 เผยให้เห็นอะไร และโลกหลัง COVID-19 เรามีทางเลือกอะไรรออยู่บ้าง

กองบรรณาธิการ

9 May 2020

Talk Programmes

8 May 2020

101 One-On-One Ep.135 : มองความจริงของสื่อ ผ่านข่าวลวงในยุคโควิด

101 ชวน วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง หัวหน้าโครงการอินเทอร์เน็ตศึกษา สกสว. และนักวิจัยโครงการสำรวจองค์ความรู้ด้านข่าวลวง ข้อมูลบิดเบือน และข้อมูลผิดพลาด และกรณีศึกษาด้านสุขภาพของไทย (ร่วมกับ สสส.) มาคุยว่าด้วยเรื่องข่าวลวงในยุคโควิด ข่าวลวงเกี่ยวกับสุขภาพ และชวนมองการทำงานของสื่อไทยในปัจจุบัน ว่าแม้แต่สื่อเองก็ตกเป็นเหยื่อของข่าวลวงเองหรือไม่ และปัญหาอื่นๆ ของสื่อในปัจจุบัน

101 One-on-One

8 May 2020

Business

8 May 2020

อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ: ทุกข์ของแรงงานในความคลุมเครือของ ‘เศรษฐกิจแพลตฟอร์ม’

101 คุยกับ อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ ซึ่งทำวิจัยเรื่องแรงงานในเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม และเห็นว่ารัฐต้องเริ่มศึกษาปัญหาและมีบทบาทในการกำกับดูแล

วจนา วรรลยางกูร

8 May 2020

Spotlights

7 May 2020

‘โรคใหม่’ สร้าง ‘โลกแห่งการเรียนรู้ใหม่’ : อนาคตการศึกษาไทยยุคหลัง COVID-19

มองอนาคตการศึกษาไทยในวันที่โรคระบาดเข้ามาเปลี่ยนชีวิตคนทุกคน ใน 101 Public forum “โรคใหม่ – โลกใหม่ – การเรียนรู้ใหม่ : อนาคตการศึกษาไทยยุคหลัง COVID-19”

กองบรรณาธิการ

7 May 2020

Economic Focus

7 May 2020

เปิดเมืองอย่างไรด้วยหลักคิดทางเศรษฐศาสตร์เพื่อไม่ให้ต้องปิดซ้ำสอง?

101 ชวนอ่านกลยุทธ์การเปิดเมืองผ่านสายตา 5 นักเศรษฐศาสตร์ -วราพงศ์ วงศ์วัชรา, ชัญญา พันธจารุนิธิ, สรา ชื่นโชคสันต์, รุจา อดิศรกาญจน์ และ สุพริศร์ สุวรรณิก – เพื่อเพื่อหาทางเลือกที่ ‘เหมาะสมที่สุด’ สำหรับอนาคตอันใกล้

กองบรรณาธิการ

7 May 2020

Economic Focus

6 May 2020

ตัดแว่นเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม มองสังคมไทยในยุค COVID-19 กับ ธานี ชัยวัฒน์

มองวิกฤตโควิด-19 ผ่าน “เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม” กับ ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์ พฤติกรรมและข้อจำกัดของคนไทยในการตอบรับมาตรการสาธารณสุขเป็นอย่างไร เราใช้ความรู้เรื่องนี้มาร่วมออกแบบนโยบายสาธารณะเพื่อรับมือโควิดได้อย่างไร

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 May 2020

Thai Politics

6 May 2020

คนเห็นศพ แต่ไม่เห็นคนฆ่าตัวตาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถามถึงท่าทีต่อความตายจากโรคระบาดที่ไม่ได้มีแค่ผู้ติดเชื้อโดยตรง แต่ยังมีคนที่ได้รับผลกระทบและใช้การฆ่าตัวตายเป็นทางออก

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

6 May 2020

Talk Programmes

5 May 2020

101 One-on-One ep. 133 “โลกธุรกิจใหม่หลัง COVID-19” กับ อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

101 ชวนสำรวจโลกธุรกิจใหม่หลัง COVID-19 กับอิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ ว่าวิกฤตครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อวิถีธุรกิจในระบบทุนนิยมโลกาภิวัตน์อย่างไร ธุรกิจทั้งเก่าและใหม่ต้องปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงใหญ่อย่างไร อุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่เข้าไป disrupt อุตสาหกรรมอื่น ตัวมันเองถูก disrupt อย่างไร

101 One-on-One

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

“คนก็ต้องการการดูแลจิตใจ”: มองปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19 กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ สนทนา กับ นพ.กานต์ จํารูญโรจน์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ว่าด้วยปัญหาสุขภาพจิตในยุคโควิด-19

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

‘สองนครา หนึ่งธาตุแท้’ : อเมริกายุคโควิด-19 บุก

เมื่อ COVID-19 จู่โจมสหรัฐอเมริกาซึ่งมีหน้าตาแบบทรัมป์ ก็ยิ่งเผยให้เห็นปัญหาโครงสร้างอำนาจการเมืองและเศรษฐกิจที่ดำรงอยู่ ชวนอ่านบทวิเคราะห์ของธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 May 2020

Issue of the Age

5 May 2020

คุยกับ นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ : เมื่อเด็กและครอบครัวคือจุดเปราะบางท่ามกลางวิกฤต

เมื่อเด็กและครอบครัวคือจุดเปราะบางที่สุดของสถานการณ์โรคระบาด อะไรคือมาตรการเพื่อไม่ให้ความเปราะบางแตกร้าวลง

ธิติ มีแต้ม

5 May 2020
1 32 33 34 59

MOST READ

Public Policy

12 Apr 2024

‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ คนไทยได้อะไร? เสียอะไร?

101 PUB ชวนอ่านบทวิเคราะห์นโยบาย ‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ หลังรัฐบาลแถลงรายละเอียด 10 เม.ย. 2024 การแจกเงิน 10,000 บาทนี้ คนไทยจะได้และเสียอะไรบ้าง

ฉัตร คำแสง

12 Apr 2024

101PUB

2 May 2024

ความเป็นไทยภายใต้ระบบยุติธรรมที่ถูกแช่แข็ง

TIJ ร่วมกับ 101 PUB ชวนสำรวจปัจจัยเชิงสถาบัน หรือ ‘ความเป็นไทย’ ภายใต้กระบวนการยุติธรรมที่ถูกแช่แข็ง จนการปฏิรูปที่ผ่านมาต้องพบกับความล้มเหลว

101 PUB

2 May 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save