fbpx

Books

10 Mar 2017

โตมร ศุขปรีชา : เพราะการอ่านเป็นเรื่อง ‘อัตวิสัย’

โตมร ศุขปรีชา เป็นตัวแทนจาก 101 เข้าไปเป็นหนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เขาออกตัวว่าน่าจะเป็นกรรมการสาย ‘(สู่) รู้ทุกเรื่อง-แต่ไม่รู้จริงสักเรื่อง’ แต่ถ้าดูจากงานที่เขาทำ เราจะเห็นว่าคำว่า Well-Rounded น่าจะเหมาะสมกับตัวเขามากที่สุด และดังนั้น เขาจึงน่าจะเป็นตัวแทน ‘ความน่าจะอ่าน’ ในอีกรูปแบบหนึ่งได้เป็นอย่างดี

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล : เมื่อเสพสื่อดิจิตอลจนล้า คนจะกลับมาอ่านหนังสือเล่ม

แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ที่อายุน้อยที่สุด ด้วยเหตุนี้ เขาจึงถูกยัดเยียดความเป็น ‘ตัวแทนคนรุ่นใหม่’ ให้โดยปริยาย แต่ถ้าดูจากหนังสือที่แชมป์ชอบอ่าน จะพบว่าเขาชอบหนังสือที่เกี่ยวกับโลกยุคใหม่ เทรนด์ เทคโนโลยี และเรื่องเชิงสังคมที่คนทั่วไปอาจรู้สึกว่าย่อยยาก แชมป์จึงเป็นตัวแทนหนังสือแนว non-fiction ไปพร้อมกับความเป็นคนรุ่นใหม่ด้วย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

ทราย เจริญปุระ : การอ่านไม่เห็นต้องปีนบันได

ในการพบปะกันครั้งแรก ทราย เจริญปุระ เป็นผู้ที่บอกว่า “โปรเจ็กต์นี้นี้น่าจะเรียกว่า ‘ความน่าจะอ่าน’ เนอะ” แล้วโปรเจ็กต์นี้ก็ได้ชื่อนี้ขึ้นมาจริงๆ เป็นชื่อที่เหมาะมากกับโปรเจ็กต์ทั้งหมด น่าจะพูดได้ว่า ทรายเป็นนักอ่านที่อ่านหนังสือกว้างขวางที่สุดในบรรดากรรมการทั้งหมด เธอบอกว่าตัวเองเป็นตัวแทนของ ‘นักอ่านสายป๊อบ’ ซึ่งก็มาเป็นจิ๊กซอว์ให้กับคณะกรรมการทั้งหมดได้ลงตัวอย่างยิ่ง

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

10 Mar 2017

Issue of the Age

9 Mar 2017

เมื่อหุ่นยนต์เริ่มคล้ายมนุษย์ : อะไรคือจุดเริ่มต้นของความคล้าย

บางครั้งเราอาจจะรู้สึกสับสนว่าสิ่งนี้เป็นมนุษย์หรือเป็นหุ่นยนต์กันแน่ มาดูกันว่าอะไรที่ทำให้เรามองว่ามนุษย์กับหุ่นยนต์เริ่มมีความคล้ายกัน

วิโรจน์ สุขพิศาล

9 Mar 2017

Books

9 Mar 2017

สฤณี อาชวานันทกุล : คุณค่าทางวรรณกรรม ใครเป็นคนกำหนด?

สฤณี อาชวานันทกุล หนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ชวนเรามาตั้งคำถามว่า ‘คุณค่า’ ของรางวัลวรรณกรรมต่างๆ คืออะไร ประเด็นนี้ไม่เพียงสำคัญ แต่ยังชวนเราตั้งคำถามกับสิ่งที่เป็นอยู่ เพื่อก้าวสู่ความน่าจะเป็นในอนาคตด้วย

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

9 Mar 2017

Interviews

9 Mar 2017

ตัวตน โศกนาฎกรรม สันติประชาธรรม และ ‘ความล้มเหลวอันสง่างาม’ ของ ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ปกป้อง จันวิทย์ สนทนากับ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ว่าด้วยที่ทางและน้ำยาของ ‘สันติประชาธรรม’ มรดกทางความคิดของป๋วย อึ๊งภากรณ์ ในสังคมไทยปัจจุบัน

ปกป้อง จันวิทย์

9 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

นิวัต พุทธประสาท : คนทำหนังสือยุคนี้ ควรมีทัศนคติที่ดีต่อสื่อออนไลน์

นิวัตเป็นทั้งนักเขียน นักอ่าน และบรรณาธิการที่ทำงานด้านวรรณกรรมไทยมากว่า 20 ปี เขาบอกว่าสื่อออนไลน์คืออาวุธที่ต้องใช้เพื่อเข้าถึงคนอ่านให้กว้างที่สุด ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไม 101 จึงเชื้อเชิญเขามาร่วมเป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เพื่อร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ติดตามความคิดของเขาได้-ที่นี่!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน กับการแนะนำหนังสือที่ ‘เอาแต่ใจที่สุด’

‘ความน่าจะอ่าน’ เกิดขึ้นด้วยแนวคิดที่ผสมกันระหว่าง ‘การรีวิว’ และ ‘การให้รางวัล’ โดยมีคอนเซ็ปต์ง่ายๆว่า ไม่ต้องซีเรียสจริงจังนั่งกอดอกพยักหน้า ไม่ต้องเกรงบารมีผู้ทรงคุณวุฒิใดๆทั้งสิ้น ใครจะเชื่อไม่เชื่อก็สุดแล้วแต่ ชอบไม่ชอบก็แชร์กันได้ กับ 5 กรรมการ อย่าง นิวัต พุทธประสาท / สฤณี อาชวานันทกุล / ทราย เจริญปุระ / ทีปกร วุฒิพิทยามงคล และ โตมร ศุขปรีชา ที่ 101 ชวนมาคัดเลือกหนังสือแนะนำตามใจและความชอบของพวกเขาเองล้วนๆ

ถ้าอยากรู้ว่าคนเหล่านี้จะเลือกหนังสืออะไรมาแนะนำบ้าง-โปรดติดตาม!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Spotlights

21 Feb 2017

เมื่อ AI ย่างเข้าสู่โลกตัวอักษร… ศึกนี้ใครจะรอด?!

เกมใช้ความคิดอย่างหมากล้อมอาจเป็นของง่ายสำหรับ AI ยุคใหม่ที่จะเอาชนะมนุษย์ แต่งานที่ต้องใช้ทักษะวรรณศิลป์อย่างงานเขียนและงานแปลล่ะ มันจะทำได้ดีแค่ไหน

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

21 Feb 2017
1 58 59

MOST READ

Public Policy

12 Apr 2024

‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ คนไทยได้อะไร? เสียอะไร?

101 PUB ชวนอ่านบทวิเคราะห์นโยบาย ‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ หลังรัฐบาลแถลงรายละเอียด 10 เม.ย. 2024 การแจกเงิน 10,000 บาทนี้ คนไทยจะได้และเสียอะไรบ้าง

ฉัตร คำแสง

12 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

Public Policy

2 Apr 2024

กินยาต้านเศร้า vs เข้าวัดปฏิบัติธรรม: สองทางที่เลือกไม่ค่อยได้ของคนซึมเศร้า

เมื่อการเยียวยาจิตใจด้วยชีวการแพทย์ด้านเดียวอาจไม่พอและไม่ยั่งยืน แต่ทางเลือกอื่น เช่น การพบนักจิตวิทยาการปรึกษาก็ยังเป็นเรื่องยากในประเทศไทย

สรัช สินธุประมา

2 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save