fbpx

World

15 Jan 2023

‘6 วันหลังรัสเซียก่อสงคราม เราก็หนีออกมา’ ดีนา คาราแมน และ วลาดิเมียร์ นาดีน ว่าด้วยเสรีภาพ ความขัดแย้งและโฆษณาชวนเชื่อ

6 วันหลังรัสเซียเปิดฉากรุกรานยูเครนด้วยการระดมกำลังพลในกองทัพเข้าประชิดเขตชายแดน ดีนา คาราแมน และ วลาดิเมียร์ นาดีน คนทำหนังชาวรัสเซียก็ตัดสินใจเดินทางออกจากประเทศ ส่วนเสี้ยวหนึ่งของหัวใจเตรียมรับมือกับข้อเท็จจริงที่ว่าพวกเขาอาจไม่ได้กลับบ้านเกิดไปในเร็ววันนี้

101 สนทนากับคาราแมนและนาดีน ว่าด้วยสถานะคนทำหนังที่คัดง้างกับรัฐบาล, โฆษณาชวนเชื่อที่ยังทรงอิทธิพลมหาศาล และปลายทางของรัสเซียในสายตาพวกเขา

พิมพ์ชนก พุกสุข

15 Jan 2023

World

27 Dec 2022

สงคราม-มหาอำนาจแยกขั้ว: การเมืองโลก 2022 กลางทวิวิกฤต

101 ชวนย้อนมองระเบียบโลกปี 2022 เมื่อโลกกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจไปสู่สองขั้วอำนาจระหว่างจีน-สหรัฐฯ และเต็มไปด้วยความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ปะทุขึ้นทั้งในสงครามรัสเซีย-ยูเครน ช่องแคบไต้หวัน และอินโด-แปซิฟิก

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

27 Dec 2022

Curious Economist

16 Dec 2022

ทำไมเศรษฐกิจรัสเซียถึงไม่ล่มสลาย แต่กลับกลายเป็นดีกว่าที่คาด?

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ หาคำตอบว่าทำไมเศรษฐกิจรัสเซียถึงยังไม่ล่มสลาย แม้จะโดนมาตรการคว่ำบาตรจากชาติตะวันตก แถมยังดีกว่าที่คาด

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

16 Dec 2022

World

6 Dec 2022

‘ยูเครน’ ผ่านม้วนฟิล์มของ Kornii Hrytsiuk ผู้กำกับสารคดีจากยูเครนตะวันออก

แม้ Train «Kyiv–War» จะกล่าวถึงสงครามดอนบาสและสังคมยูเครนก่อนวันที่ 24 กุมภา 2022 แต่เรื่องราวในสารคดีก็ยังคงทำปฏิกิริยาและอธิบายสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ 101 พูดคุยกับ Kornii Hrytsiuk ผู้กำกับสารคดีชาวยูเครน ว่าด้วยความคิดและความทรงจำของสังคมยูเครนที่ปรากฏในสารคดี

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 Dec 2022

World

25 Nov 2022

คิดไปทางไหนโลกหมุนไปทางนั้น? จากยูเครน ไต้หวัน สู่เวทีประชุมผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์สถานการณ์ความตึงเครียดในการเมืองโลก ผ่านโลกทัศน์แบบ ‘คิดไปทางไหนทำให้ความจริงเป็นไปตามนั้น’ ของรัฐมหาอำนาจ และสัญญาณการคลายลงของโลกทัศน์ดังกล่าวหลังการประชุมสุดยอด 3 เวทีใหญ่ที่ผ่านมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

25 Nov 2022

World

3 Nov 2022

นโยบายต่างประเทศแบบ ‘ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด’ ของอินเดียในวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงนโยบายการต่างประเทศแบบ ‘ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด’ ของอินเดีย ซึ่งสะท้อนให้เห็นมาตลอดในการตัดสินใจสำคัญในระดับระหว่างประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

3 Nov 2022

Politics

19 Apr 2022

อาชญากรรมสงคราม (war crimes) : อาชญากรรมของผู้ฝ่าฝืนกฎการทำสงคราม ไม่ใช่อาชญากรรมของผู้ก่อสงคราม

จากกรณีสงครามรัสเซียยูเครน ปกป้อง ศรีสนิท ชวนทำความเข้าใจ ‘อาชญากรรมสงคราม’ และความเป็นไปได้ในการดำเนินคดีอาชญากรรมสงครามในศาลอาญาระหว่างประเทศ

ปกป้อง ศรีสนิท

19 Apr 2022

Asia

7 Apr 2022

เข้าใจความเป็นกลางแบบอินเดีย ท่ามกลางวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน

ภาสกร ธรรมโชติ ชวนทำความเข้าใจท่าทีของอินเดีย ที่เลือกวางตัวเป็นกลางท่ามกลางวิกฤตความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน

ภาสกร ธรรมโชติ

7 Apr 2022

World

6 Apr 2022

ปูตินไม่ชนะ แต่อาจไม่แพ้

อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Apr 2022

World

1 Apr 2022

‘เสถียรภาพในความขัดแย้ง’: บทบาทของอาวุธนิวเคลียร์ในสงครามรัสเซีย-ยูเครน

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา วิเคราะห์พฤติกรรมการไม่แทรกแซงของมหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน ผ่านแนวคิด ‘ความย้อนแย้งของความมีเสถียรภาพ-ความไร้เสถียรภาพ’ (stability-instability paradox)

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

1 Apr 2022

PopCapture

30 Mar 2022

ไม่มีรัสเซียในอุตสาหกรรมหนัง เกม และฟุตบอล เมื่อโลกพร้อมใจกันหันหลังให้รัสเซีย

ภายใต้บริบทสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ยังระอุอยู่ทุกขณะ เมื่อโลกพร้อมใจกันคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซียเพื่อแสดงจุดยืนต่อต้านการรุกราน และคอลัมน์ PopCapture ก็พาสำรวจโลกของการคว่ำบาตร ที่มีมากกว่าด้านการเงิน แต่หมายรวมถึงด้านวัฒนธรรมที่ชวนบาดเจ็บไม่แพ้กันด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

30 Mar 2022

Global Affairs

16 Mar 2022

ผลกระทบและแนวทางการรับมือของไทยจากสถานการณ์สงครามในยูเครน

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองผลกระทบของสงครามรัสเซีย-ยูเครน ที่มีต่อประเทศไทย ทั้งในแง่เศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศ พร้อมเสนอแนะแนวทางการรับมือ

ปิติ ศรีแสงนาม

16 Mar 2022

World

15 Mar 2022

โตเกียวเสียขวัญ เมื่อเสียงปืนสนั่นฟ้ายูเครน

เมื่อสงครามรัสเซีย-ยูเครน สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อทั่วโลก ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ระเบียบความมั่นคงบนกลไกการป้องปรามที่สั่นคลอนในเอเชียตะวันออก ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในระบบพันธมิตรระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ อันเป็นผลจากการรับประกันความมั่นคงและการตอบสนองที่ล้มเหลวของชาติพันธมิตรยุโรปและสหรัฐฯ ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

15 Mar 2022

101 in focus

11 Mar 2022

101 In Focus Ep.120: เสียงและเลือดเนื้อประชาชนกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 In Focus ชวนติดตามความคืบหน้าของสถานการณ์การสู้รบระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งล่วงเข้าสู่สัปดาห์ที่สอง พร้อมชวนฟังคำบอกเล่าจากคนยูเครนที่กำลังเผชิญไฟสงครามบนบ้านเกิดตัวเอง

กองบรรณาธิการ

11 Mar 2022
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save