fbpx

Life & Culture

7 Mar 2024

9 เรื่อง 9 ทศวรรษ สุดา พนมยงค์ : ชีวิตระหว่างบรรทัดของประวัติศาสตร์การเมืองไทย

กษิดิศ อนันทนาธร เล่า 9 เรื่องราวชีวิตของ ‘สุดา พนมยงค์’ บุตรสาวของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 90 ปี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา

กษิดิศ อนันทนาธร

7 Mar 2024

Thai Politics

23 Jan 2024

ปรีดีหนี ครั้งหลัง พ.ศ.2492

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เล่าเรื่องราว ‘ปรีดีหนี’ หลังล้มเหลวในปฏิบัติการ 26 ก.พ. 2492 หรือ ‘กบฏวังหลวง’ ผ่านคำบอกเล่าขององครักษ์คนสนิท ชนิดเห็นภาพทุกเหตุการณ์

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

23 Jan 2024

Thai Politics

20 Nov 2023

แล้วแต่ปุ๊ : ว่าด้วย ‘ประวัติศาสตร์ความทรงจำลวง’ ของ ปุ๊ ระเบิดขวด-แดง ไบเล่ ใน 2499 อันธพาลครองเมือง

อิทธิเดช พระเพ็ชร เขียนถึงประวัติศาสตร์ความทรงจำลวงของภาพยนตร์ 2499 อันธพาลครองเมืองที่กลายเป็นกลไกของชนชั้นผู้ปกครองสำหรับจัดการ ‘ความทรงจำทางการเมือง’ หรือ ‘ปกครองความทรงจำทางประวัติศาสตร์’

อิทธิเดช พระเพ็ชร

20 Nov 2023

Thai Politics

8 Nov 2023

‘ธำรงหนี’ 8 พฤศจิกายน 2490 จุดสิ้นสุดอำนาจของคณะราษฎรสายพลเรือน

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เล่าการหลบหนีของ ‘หลวงธำรงฯ’ – พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ อดีตนายกฯ จากคณะราษฎรสายพลเรือน เมื่อเกิดรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

8 Nov 2023

Politics

25 Sep 2023

ตั้วเหี่ย 大兄 กับ อั้งยี่ 洪字 อนุทินลูกเจ๊กหลังเสพ ‘แมนสรวง’

จากภาพยนตร์ ‘แมนสรวง’ ที่ฉายภาพการเมืองสยามและบทบาทชาวจีนสมัย รัชกาลที่ 3-4 สู่การตามหาประวัติศาสตร์ความหมายของคำว่า ‘ตั้วเหี่ย’ และ ‘อั้งยี่’ โดย นริศ จรัสจรรยาวงศ์

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

25 Sep 2023

Thai Politics

23 Jul 2023

‘ชาร์ล เดอ โกล เมืองไทย?’ จอมพลสฤษดิ์ ในเงารัฐบุรุษแห่งฝรั่งเศส

อิทธิเดช พระเพ็ชร ย้อนมองประวัติศาสตร์ระบอบเผด็จการของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ที่ครั้งหนึ่งถูกชื่นชมว่าเปรียบได้กับการปกครองโดยนายพลชาร์ล เดอ โกล แห่งฝรั่งเศส

อิทธิเดช พระเพ็ชร

23 Jul 2023

Life & Culture

21 Jul 2023

หุ่น และ เพลง ‘สดุดีพิบูลสงคราม’

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงที่มาของรูปปั้นจอมพล ป. พิบูลสงคราม และชวนฟังเพลง ‘สดุดีพิบูลสงคราม’ จัดแสดงในงานครบรอบ 91 ปี อภิวัฒน์สยาม โดยเครือมติชน

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

21 Jul 2023

Thai Politics

3 Jul 2023

โภชนาธิปไตย : ประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ปลายลิ้น กับ ชาติชาย มุกสง

101 คุยกับ ผศ.ดร.ชาติชาย มุกสง สำรวจการเมืองในอาหารของคณะราษฎร นโยบายส่งเสริมโภชนาการหลัง 2475 ภาพสะท้อนความเป็นประชาธิปไตย และมรดกที่ตกทอดมาถึงสังคมไทยปัจจุบัน

กองบรรณาธิการ

3 Jul 2023

Politics

29 Jun 2023

หาคำตอบ ‘ส.ว. มีไว้ทำไม?’ กับปุรวิชญ์ วัฒนสุข เมื่อวุฒิสภาเป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการประชาธิปไตย

101 คุยกับปุรวิชญ์ วัฒนสุข ถึงบทบาทและพัฒนาการของวุฒิสภาไทยที่ผ่านมาผ่านผลงานวิทยานิพนธ์ของเขา และชวนมองถึงข้อเสนอต่างๆ ในการออกแบบวุฒิสภาสำหรับการเมืองไทยในอนาคต

วจนา วรรลยางกูร

29 Jun 2023

Film & Music

11 Dec 2022

บ้านนอกในกรุง บ้านทุ่งแดนไกล: ปฏิสัมพันธ์ อำนาจนำ และการต่อรองระหว่างเมืองกับชนบท ในเพลงลูกทุ่งไทย

อิทธิเดช พระเพ็ชร ชวนย้อนมองประวัติศาสตร์พัฒนาการเพลงลูกทุ่งไทย ที่สะท้อนปฏิสัมพันธ์และการต่อรองระหว่างเมืองกับชนบท

อิทธิเดช พระเพ็ชร

11 Dec 2022

Thai Politics

1 Nov 2022

ประวัติศาสตร์ ความทรงจำ และ 6 ตุลาฯ ที่อยากจำแต่กลับลืม

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงการจัดการกับความทรงจำร่วมในสังคมไทยอย่างเหตุการณ์ 6 ตุลา ว่าทำไมการรำลึกจึงอาจถือว่าเป็นการลืมรูปแบบหนึ่ง และเราควรจะจดจำเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีตอย่างไร

อติเทพ ไชยสิทธิ์

1 Nov 2022

Politics

14 Oct 2022

ภาพ “หลอน”

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการ ‘6 ตุลา เผชิญหน้ากับปีศาจ’ ที่ใช้ภาพถ่ายร่วมกันเล่าเรื่องราว พาเรากลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์บาดแผลของสังคมไทย

ธนาวิ โชติประดิษฐ

14 Oct 2022

Thai Politics

14 Oct 2022

ไขแสง สุกใส: ส.ส. คอมมิวนิสต์? กบฏรัฐธรรมนูญ และจุดเริ่มต้น 14 ตุลาฯ

เรื่องราวของ ไขแสง สุกใส หนึ่งในนักการเมืองที่มีบทบาทสำคัญต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่ทศวรรษ 2500 14 ตุลาฯ และการเข้าป่า

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

14 Oct 2022

Thai Politics

10 Oct 2022

กฤษฎางค์ นุตจรัส : จาก ‘6 ตุลา’ ถึง ‘112’ บาดแผลและความอยุติธรรมที่ยังไม่ได้รับการสะสาง

101 ชวน กฤษฎางค์ นุตจรัส มองความทรงจำ 6 ตุลาที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค และจุดร่วมคำถามแห่งยุคสมัยในวันที่มาตรา 112 ถูกหยิบมาปราบปรามผู้เห็นต่าง

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

10 Oct 2022
1 2 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save