fbpx

World

1 Jun 2022

จีนต้องการอะไรจากสหรัฐฯ และทำไมสหรัฐฯ ให้จีนไม่ได้

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง คำขอของจีนต่อสหรัฐฯ ที่ไม่ต้องการให้สหรัฐฯ ขัดแย้งและต่อต้านจีน ซึ่งสหรัฐฯ ให้ไม่ได้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

1 Jun 2022

Asean

26 Apr 2022

จากมหายุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก สู่กรอบความร่วมมือเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก และสิ่งที่อาเซียนต้องเข้าใจ

ปิติ ศรีแสงนาม วิเคราะห์การเจรจากรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียน ซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ้นระหว่างการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน-สหรัฐฯ ในเดือนพฤษภาคมนี้

ปิติ ศรีแสงนาม

26 Apr 2022

Life & Culture

30 Mar 2022

ระลึกถึง Madeleine Albright (1937 – 2022)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนระลึกถึง Madeleine Albright อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งถึงแก่อนิจกรรม และชวนสำรวจความกังวลต่อลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งเป็นความกังวลสุดท้ายในชีวิตเธอ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

30 Mar 2022

Economy

23 Nov 2021

ปัญหาชิปขาดตลาด ผลสะเทือนต่อภูมิรัฐศาสตร์โลก

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ วิเคราะห์ปัญหาชิปขาดตลาด ที่ปัจจุบันพัฒนาเป็นสงครามชิประหว่างชาติมหาอำนาจ อะไรคือต้นสายปลายเหตุของการขาดแคลนชิปทั่วโลกในครั้งนี้ ตลอดจนร่วมมองอนาคตของอุตสาหกรรมผลิตชิป เมื่อสหรัฐฯ ตัดสินใจดึงโรงงานผลิตชิปกลับแผ่นดินอเมริกา

อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

23 Nov 2021

Dancing with Leviathan

8 Nov 2021

จากเศรษฐกิจพันลึก สู่นโยบายหลักของสหรัฐอเมริกา: การเดินทางของนโยบายอุตสาหกรรมแห่งศตวรรษที่ 21

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ เขียนถึงแนวคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบาลสหรัฐฯ ที่เริ่มโอบรับ ‘นโยบายอุตสาหกรรม’ แบบญี่ปุ่นมาใช้อย่างซ่อนเร้นในยุค 1980s กระทั่งถูกนำมาใช้อย่างโจ่งแจ้งในยุคปัจจุบัน

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

8 Nov 2021

World

1 Oct 2021

‘ปีศาจ’ ที่หลอนนโยบายต่างประเทศของ โจ ไบเดน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์นโยบายต่างประเทศของโจ ไบเดน ที่สะท้อนความสับสนและไม่เป็นระบบระเบียบ ภายใต้สภาพสังคมและการเมืองที่ไม่ปกติ พร้อมกันกับการขึ้นมาของจีนในเวทีการเมืองโลก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Oct 2021

World

14 Sep 2021

20 ปีเหตุการณ์ 11 กันยายน 2001-2021 เราเรียนรู้อะไรได้บ้าง

ปิติ ศรีแสงนาม ถอดบทเรียนหลังครบรอบ 20 ปีของเหตุการณ์วินาศกรรมสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2001 หรือเหตุการณ์ 9/11

ปิติ ศรีแสงนาม

14 Sep 2021

Life & Culture

13 Sep 2021

School of the Poetic City : ค่ายฤดูร้อนที่ชวนเด็กๆ เรียนรู้การเป็นเจ้าของเมืองที่เขาอยู่ 

คอลัมน์ Third – Eye View สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill ชวนไปทำความรู้จัก School of the Poetic City ค่ายปิดเทอมฤดูร้อนที่ใช้ ‘ศิลปะ’ เป็นเครื่องมือในการสอนให้เด็กๆ ได้รู้จักเมืองที่เขาอยู่และเห็นความสำคัญของสิทธิความเป็นเจ้าของเมือง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

13 Sep 2021

Life & Culture

9 Sep 2021

เยือนอเมริกาในเวลาประกาศอิสรภาพจากโควิด (1) – วิลเลียมสเบิร์ก เมืองหลวงแห่งแรกของเวอร์จิเนีย

ธีรภัทร เจริญสุข พาไปสัมผัสบรรยกาศเมืองวิลเลียมสเบิร์ก ในรัฐเวอร์จิเนีย เมืองเก่าแก่ที่เคยเป็นดั่งศูนย์กลางการปกครองในยุคอาณานิคมดั้งเดิม ก่อนที่อเมริกาจะประกาศอิสรภาพ

ธีรภัทร เจริญสุข

9 Sep 2021

World

25 Aug 2021

‘อัฟกานิสถานในความเปลี่ยนแปลง’ กับ ดวงยิหวา อุตรสินธุ์

การหวนคืนสู่อำนาจอีกครั้งของตาลีบันจะเปลี่ยนแปลงชะตากรรมของอัฟกานิสถานไปอย่างไร และส่งผลสะเทือนถึงภูมิรัฐศาสตร์โลกอย่างไร 101 ชวน ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก วิทยาเขตอาบูดาบี ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มาพูดคุยในเรื่องนี้

กองบรรณาธิการ

25 Aug 2021

World

4 Jun 2021

หนึ่งร้อยวันของประธานาธิบดี โจ ไบเดน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงก้าวต่อไปของ โจ ไบเดน ที่จะต้องรื้อฟื้นบทบาทของอเมริกาให้ประเทศทั่วโลกต้องกลับมาให้ความสำคัญดังเดิม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Jun 2021

World

7 May 2021

สหรัฐฯ จัดการกับปัญหาโควิดอย่างไรถึงพังยับเยิน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สาเหตุที่สหรัฐฯ พ่ายในศึกโรคระบาด อันมีเหตุสำคัญมาจากการบริหารของโดนัลด์ ทรัมป์ ที่อาจเป็นบทเรียนแก่ผู้นำคนอื่นๆ ได้

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 May 2021

Life & Culture

27 Apr 2021

NOMADLAND สุดเขตชายแดนคือรั้วบ้านของฉัน

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงภาพยนตร์ Nomadland ของผู้กำกับหญิงชาวจีน Chloé Zhao ที่กวาดรางวัลจากเวทีการประกวดออสการ์ ครั้งที่ 93 ไปถึง 3 รางวัล ตัวหนังเล่าถึงภาพชีวิตทางเลือกของกลุ่มคนอเมริกันที่ปฏิเสธการตั้งเหย้าเรือนเป็นหลักแหล่งแห่งที่ ใช้ชีวิตประจำวันกินอยู่หลับนอนใน ‘รถบ้าน’ และย้ายตำแหน่งเพื่อหางานทำไปเรื่อยๆ ในแบบฉบับของกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad)

‘กัลปพฤกษ์’

27 Apr 2021

Life & Culture

25 Mar 2021

The Mauritanian: กระบวนการยุติธรรมต้องไม่ถูกชี้นำโดยความกลัว

วจนา วรรลยางกูร ชวนมองกระบวนการยุติธรรมไทยผ่านภาพยนตร์ The Mauritanian ที่ฉายภาพความอยุติธรรมของนักโทษคุกกวนตานาโม

วจนา วรรลยางกูร

25 Mar 2021
1 2 3 4 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save