fbpx

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

Life & Culture

4 Apr 2024

ปัญหาการผูกขาดปัญญาประดิษฐ์ ที่จะมาลิขิตชีวิตเรา

เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงปัญหาของการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ ที่ถูกผูกขาดโดยบริษัทเทคฯ ของสองชาติมหาอำนาจต่างขั่ว – สหรัฐและจีน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

4 Apr 2024

US

1 Mar 2024

ฐานะและอำนาจของสถาบันตุลาการควรอยู่เหนือฝ่ายนิติบัญญัติไหม: การทบทวนโดยตุลาการ (judicial review)

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ตีความเรื่องการทบทวนโดยตุลาการ (judicial review) ในเฟเดอรัลลิสต์หมายเลขที่ 78 ของอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน ต่อเนื่องจากทัศนะของวีระ สมบูรณ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Mar 2024

World

25 Jan 2024

ไต้หวันหลังเลือกตั้ง 2024 : วิเคราะห์ฉากทัศน์สำคัญ กับ สิทธิพล เครือรัฐติกาล

101 ชวนสนทนากับ สิทธิพล เครือรัฐติกาล วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งไต้หวัน 2024 ที่จะพาโลกไปสู่ ‘สงคราม’ หรือ ‘สันติภาพ’ พร้อมมองฉากทัศน์อนาคตของไต้หวัน จีน และสหรัฐอเมริกา

กองบรรณาธิการ

25 Jan 2024

Global Affairs

12 Jan 2024

สงครามยูเครนบอกอะไรสีจิ้นผิงกับไบเดน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงนัยจากความเป็นไปของสงครามยูเครนในปัจจุบัน ที่มีต่อทิศทางการเดินหมากของสหรัฐฯ และจีน ในกรณีไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 Jan 2024

Global Affairs

1 Nov 2023

ทำไม สหรัฐฯ ถึงควรยกเลิกการคว่ำบาตรต่อคิวบา ?

สุริยะ สว่างทองคำ บรรยายถึงเหตุผลที่สหรัฐอเมริกาควรยกเลิกนโยบายคว่ำบาตรคิวบา ซึ่งเป็นข้อเรียกร้องของประชาคมโลกมาต่อเนื่อง 30 ปี

สุริยะ สว่างทองคำ

1 Nov 2023

US

5 Oct 2023

สี่ประธานาธิบดี: ไดแอนน์ ไฟน์สไตน์ วุฒิสมาชิกหญิงเลือกตั้ง ‘ผู้เริ่มแรก’ ในการเมืองอเมริกัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงไดแอนน์ ไฟน์สไตน์ วุฒิสมาชิกสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งเสียชีวิต โดยชวนย้อนมองบทบาทการทำงานในพรรคเดโมแครตและในสภา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Oct 2023

World

31 Aug 2023

60 ปีแห่งความฝันของคนผิวดำ: ‘ประวัติศาสตร์แสนสั้น’ ที่มีความหมาย

ปาฐกถาของ ดร.คิง ผ่านมาครบ 60 ปี ธเนศ อาภรณ์สุวรรณจึงชวนมองประวัติศาสตร์การต่อสู้ของคนผิวดำในอเมริกา เมื่อเหตุการณ์ช่วงนั้นกลายเป็นหนึ่งใน ‘ประวัติศาสตร์แสนสั้น’ ท่ามกลางการต่อสู้ที่ทอดยาวมาถึงปัจจุบัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

31 Aug 2023

World

18 Jul 2023

ประตูสามบานในความสัมพันธ์จีน-สหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงความสัมพันธ์จีน-สหรัฐฯ ผ่านประตูสามบาน สามมิติ ทั้งบานด้านการทหาร บานการเมือง และบานด้านเศรษฐกิจ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

18 Jul 2023

Film & Music

25 Jun 2023

จาก ‘แหม่มปลาร้า’ ถึง ‘จดหมายจากเมียเช่า’: ฟังเพลงลูกทุ่งไทยในยุค ‘อเมริกันครองเมือง’

อิทธิเดช พระเพ็ชร พาย้อนมองอิทธิพลของสหรัฐฯ ต่อประเทศไทยในยุคสงครามเย็นผ่านเพลงลูกทุ่ง

อิทธิเดช พระเพ็ชร

25 Jun 2023

World

2 Jun 2023

เศรษฐศาสตร์การเมืองของเพดานหนี้มรณะ: วิกฤตที่ฝ่ายขวาสร้างขึ้น

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองปัญหาหนี้สาธารณะของสหรัฐฯ ซึ่งสร้างความกังวลไปทั้งโลกการเงิน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Jun 2023

column name

29 May 2023

สหรัฐฯ กับฐานทัพในไทย ระเบียบโลกใหม่ และรัฐบาลลับใต้ดิน: การเมืองเรื่องของทฤษฎีสมคบคิด

นอกเหนือจากการ ‘หนีไปบวชที่นครศรีธรรมราช’ ทฤษฎีสมคบคิดที่อยู่กับสังคมไทยมายาวนานเห็นจะเป็นเรื่องที่สหรัฐฯ หวังทำให้ประเทศไทยตกเป็นเมืองขึ้นนี่เอง… ทำเป็นเล่นไป มีคนเชื่ออยู่นะ

ทำไมเราจึงเชื่อทฤษฎีสมคบคิด มันมีรากฐานมาจากไหน แล้วเราล่ะเคยเชื่ออะไรทำนองนี้โดยไม่รู้ตัวบ้างหรือเปล่า

พิมพ์ชนก พุกสุข

29 May 2023

World

7 Apr 2023

โลกของโดนัลด์ ทรัมป์: “ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย” (ของใคร)

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองความพยายามของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ในการดำเนินคดีกับโดนัลด์ ทรัมป์ ซึ่งเริ่มต้นด้วยคดีปลอมแปลงเอกสารการเงิน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Apr 2023
1 2 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save