fbpx

Thai Politics

18 Jan 2021

To write is to territorialize

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงการแสดงของ สิกานต์ สกุลอิสริยาภรณ์ ที่สนามหลวงเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2563 ว่าด้วยเรื่องการขีดเขียน บอกเล่าเรื่องราว และช่วงชิงอำนาจในการจดจำประวัติศาสตร์

ธนาวิ โชติประดิษฐ

18 Jan 2021

Thai Politics

22 Dec 2020

เส้นทางยอกย้อนของ ‘ประชาธิปไตย’ และ ‘สาธารณรัฐ’ ในการเมืองไทย

ธนาพล อิ๋วสกุล เขียนถึงการให้ความหมาย ‘ประชาธิปไตย’ ก่อน 2475 ที่มีจินตนาการถึงการสร้าง ‘สาธารณรัฐ’

ธนาพล อิ๋วสกุล

22 Dec 2020

Thai Politics

1 Dec 2020

แนวคิดเรื่องการมีระบอบรัฐธรรมนูญในประเทศสยามก่อน 2475

กษิดิศ อนันทนาธร ชวนย้อนมองพัฒนาการของแนวคิดการปกครองประเทศไทยด้วยระบอบรัฐธรรมนูญที่เริ่มก่อตัวในสังคมมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5-6-7 ก่อนลงเอยด้วยการอภิวัฒน์ 2475

กษิดิศ อนันทนาธร

1 Dec 2020

Life & Culture

17 Nov 2020

จดหมายถึงพระมหากษัตริย์: เสียงเรียกร้องให้ปฏิรูป ก่อนการปฏิวัติใหญ่ของฝรั่งเศส ปี 1789

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เล่าถึงประวัติศาสตร์ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนชั้นนำและกษัตริย์ฝรั่งเศส และการเขียนฎีการ้องทุกข์จากประชาชนทั่วอาณาจักรเพื่อเรียกร้องการปฏิรูป ก่อนจบลงด้วยการปฏิวัติ

อติเทพ ไชยสิทธิ์

17 Nov 2020

Politics

13 Nov 2020

โต๊ปเหลือง ฮิญาบเหลือง: เข้าใจมุสลิมในสังคมไทยผ่านปรากฏการณ์มุสลิมปกป้องสถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์

อสมา มังกรชัย ชวนทำความเข้าใจสังคมมุสลิม ผ่านปรากฏการณ์ที่ชาวมุสลิมจำนวนหนึ่งออกมาสวมเครื่องแต่งกายสีเหลืองประกาศเจตนารมณ์ในการปกป้องสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

อสมา มังกรชัย

13 Nov 2020

People

27 Oct 2020

ราษฎรปลดแอก: สยามไม่ใช่คอกควาย!

กษิดิศ อนันทนาธร ย้อนอ่านกระแสการตื่นรู้ของราษฎรไทยในช่วงก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ผ่านบทความบนหน้าหนังสือพิมพ์สมัยนั้นที่ปรากฏปัญญาชนออกมาท้าทายอำนาจรัฐและระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างกล้าหาญ

กษิดิศ อนันทนาธร

27 Oct 2020

Thai Politics

27 Oct 2020

‘เกษียร เตชะพีระ’ มองการเมืองไทยยุคหลังฉันทมติภูมิพล

101 คุยกับ เกษียร เตชะพีระ เพื่อทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในยุคหลังฉันทมติภูมิพล และความสุ่มเสี่ยงด้านต่างๆ ที่สังคมกำลังเผชิญ

วจนา วรรลยางกูร

27 Oct 2020

World

22 Oct 2020

อ่านสเปน กับ นุชธิดา ราศีวิสุทธิ์

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ นุชธิดา ราศีวิสุทธิ์ อาจารย์ประจำหลักสูตรสเปนและลาตินอเมริกันศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชวนย้อนมองเส้นทางประวัติศาสตร์จากเผด็จการสู่ประชาธิปไตย จนถึงทางแพร่งแห่งความท้าทายในศตวรรษที่ 21 ของสเปน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

22 Oct 2020

Thai Politics

14 Oct 2020

คณะราษฎร 2563

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เปรียบเทียบ ‘คณะราษฎร 2563’ และ ‘คณะราษฎร 2475’ ว่ามีอุดมการณ์เดียวกันคือการปฏิรูปให้สถาบันพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Oct 2020

Thai Politics

22 Sep 2020

วาดภาพหวัง สถาบันกษัตริย์ในฝันของปวงชน

101 พูดคุยกับผู้ชุมนุมวันที่ 19 กันยายน 2563 ว่าอะไรคือภาพฝันของสถาบันกษัตริย์ที่พวกเขาอยากเห็นและเราจะอยู่ร่วมกันอย่างไรในโลกยุคใหม่ที่มีความเปลี่ยนแปลง

กองบรรณาธิการ

22 Sep 2020

Thai Politics

3 Sep 2020

“ผู้เกินกว่าราชา” และ “สวะสังคม”

กษิดิศ อนันทนาธร ยกข้อเขียนของปรีดี พนมยงค์ ที่กล่าวถึงผู้นิยมราชาธิปไตยอย่างเข้มข้น และชนรุ่นใหม่ผู้อาจมีวิสัยทัศน์คับแคบ จนเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา มาเล่าสู่กันฟัง

กษิดิศ อนันทนาธร

3 Sep 2020

Media

22 Aug 2020

101 In Focus Ep. 53 : #WhatsHappeninginThailand: อ่านการเมืองไทย กับ 101

101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนอ่านการเมืองไทยผ่านผลงานสื่อใน the101.world ครอบคลุมทั้งความเห็นต่อสถานการณ์ร้อน มุมมองต่อม็อบของผู้มีประสบการณ์ในการเคลื่อนไหว และการทำความเข้าใจปรากฏการณ์จากนักวิชาการ

กองบรรณาธิการ

22 Aug 2020

Spotlights

14 Aug 2020

“ถ้าคุณรักสถาบันจริง อย่ามองว่าคนที่เห็นต่างจากคุณนั้นเลวร้าย” – สุลักษณ์ ศิวรักษ์

101 สนทนากับ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ นักวิชาการอาวุโส ถึงข้อเรียกร้องเรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์ของม็อบนักศึกษา

วจนา วรรลยางกูร

14 Aug 2020

World

27 Feb 2020

ในนามของการปกปักรักษาแสงสว่าง: บทเรียนสั้นๆ ในราชสำนักเดนมาร์ก

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงการปรับตัวของราชสำนักเดนมาร์ก ช่วงศตวรรษที่ 18 หลังกระแสความคิดยุคแสงสว่างได้เข้าไปปะทะกับอำนาจอนุรักษนิยม

ปรีดี หงษ์สต้น

27 Feb 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save