fbpx

Politics

30 Mar 2021

อ่านหนังสือเรียนสมัยคณะราษฎร (พ.ศ. 2475 – 2500) : สิ่งที่คณะราษฎรอยากบอกประชาชน

โกษม โกยทอง เขียนถึงแบบเรียนสมัยคณะราษฎร ช่วงปี 2475-2500 ที่สะท้อนรูปแบบการปกครองใหม่และค่านิยมใหม่ในสังคมช่วงนั้น

โกษม โกยทอง

30 Mar 2021

Politics

22 Mar 2021

เมื่อนักข่าวต้องเผชิญมวลมหาผรุสวาจา (และกิริยา): การใช้ความรุนแรงต่อสื่อที่สนับสนุนโดยรัฐ

จากกรณีนายกรัฐมนตรีฉีดสเปรย์แอลกอฮอลใส่สื่อมวลชน พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงปัญหาการใช้ความรุนแรงที่หนุนโดยรัฐต่อนักข่าวที่นำไปสู่การบั่นทอนประชาธิปไตย ผ่านกรณีการโจมตีนักวารสารศาสตร์หญิงชาวฟิลิปปินส์ทางออนไลน์ และมองย้อนมาถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในไทย

พรรษาสิริ กุหลาบ

22 Mar 2021

Politics

19 Mar 2021

ข้อมูลเปิดคืออะไร ทำไมเราต้องแคร์

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงเรื่องข้อมูลเปิดที่อาจช่วยในเรื่องการพัฒนาประชาธิปไตย รวมถึงการอภิบาลข้อมูลภาครัฐของไทย

อิสร์กุล อุณหเกตุ

19 Mar 2021

Media

4 Mar 2021

101 In Focus Ep.70 : ความหวังของการปฏิรูปตำรวจไทย

ความหวังของการปฏิรูปตำรวจไทยอยู่ตรงไหน อะไรที่เกาะกินวงการอยู่จนไม่อาจแก้ไขปัญหาได้ ความเห็นจากตำรวจที่อยู่ในระบบเป็นอย่างไร มีทางเลือกอื่นๆ ในการปฏิรูปตำรวจบ้างไหม และประเทศอื่นๆ ทั่วโลกทำอย่างไร ตำรวจจึงอยู่เคียงข้างประชาชน

กองบรรณาธิการ

4 Mar 2021

Media

18 Feb 2021

101 In Focus Ep.68 : ผ่ารัฐประหารพม่า 2021

101 In Focus ชวนเจาะลึกรัฐประหารพม่าผ่านมุมมองนักวิชาการ นักเคลื่อนไหว และสื่อมวลชนไทย-พม่า อย่างครบรสในทุกมิติว่า อะไรสาเหตุคือที่นำมาสู่การทำรัฐประหารครั้งนี้ การเมืองพม่าในเงื้อมมือของกองทัพจะเป็นอย่างไรต่อไป ประชาคมโลกมองรัฐประหารพม่าด้วยสายตาแบบไหน และอะไรคือหนทางแห่งความหวังในการทวงคืนประชาธิปไตยในอนาคตของพม่า

กองบรรณาธิการ

18 Feb 2021

Democracy

5 Feb 2021

ผ่ารัฐประหารเมียนมา 2021 กับ ลลิตา หาญวงษ์

อนาคตการเมืองเมียนมาจะไปทางไหนต่อหลังจากการรัฐประหาร? 101 ชวน ลลิตา หาญวงษ์ จากภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ศึกษาเมียนมา มองปรากฏการณ์การรัฐประหารและทิศทางการเมืองเมียนมาหลังรัฐประหาร

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

5 Feb 2021

Media

2 Feb 2021

101 One-on-One Ep. 211 : ผ่ารัฐประหารเมียนมา 2021 กับ ลลิตา หาญวงษ์

อนาคตการเมืองเมียนมาจะไปทางไหนต่อหลังจากการรัฐประหาร? 101 ชวน ลลิตา หาญวงษ์ จากภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ศึกษาเมียนมา มองปรากฏการณ์การรัฐประหารและทิศทางการเมืองเมียนมาหลังรัฐประหาร

101 One-on-One

2 Feb 2021

Law

27 Jan 2021

ถอดบทเรียนทรัมป์ ถอดบทเรียนกฎหมายรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ถอดบทเรียนจากรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา เมื่อรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ของสรัฐอเมริกาส่งผลให้ระบบการเมืองมีร่องรอยของความล้าหลัง และกลายเป็นปัญหาเมื่อผู้นำอย่างโดนัลด์ ทรัมป์ขึ้นสู่อำนาจ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

27 Jan 2021

Politics

20 Jan 2021

“จาก ม.112 ถึงรัฐธรรมนูญ : โจทย์การเมืองไทยแห่งปี 2564” กับ พริษฐ์ วัชรสินธุ

101 สนทนากับ ไอติม-พริษฐ์ วัชรสินธุ กลุ่มรัฐธรรมนูญก้าวหน้า ว่าด้วยสองโจทย์ใหญ่ของการเมืองไทยปี 2564 เพื่อร่วมหาคำตอบว่า สังคมไทยจะเปลี่ยนผ่านอย่างสันติได้อย่างไร

กองบรรณาธิการ

20 Jan 2021

Thai Politics

7 Jan 2021

การเมืองภาคประชาชน 2020 : ปีแห่งการทำลายเพดาน

ชวนย้อนมองการเมืองภาคประชาชนในปี 2020 ผ่านผลงานที่เผยแพร่ทาง The101.world ที่มุ่งทำความเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น อันเป็นทางแยกที่สำคัญทางการเมืองไทย เพื่อมองไปยังปี 2021

วจนา วรรลยางกูร

7 Jan 2021

Thai Politics

22 Dec 2020

เส้นทางยอกย้อนของ ‘ประชาธิปไตย’ และ ‘สาธารณรัฐ’ ในการเมืองไทย

ธนาพล อิ๋วสกุล เขียนถึงการให้ความหมาย ‘ประชาธิปไตย’ ก่อน 2475 ที่มีจินตนาการถึงการสร้าง ‘สาธารณรัฐ’

ธนาพล อิ๋วสกุล

22 Dec 2020

Thai Politics

4 Dec 2020

“ประเทศไทยจะมีเกียรติภูมิ ถ้าเราเป็นประชาธิปไตย” – ‘ทูตนอกแถว’ รัศม์ ชาลีจันทร์

101 สนทนากับ ‘ทูตนอกแถว’ รัศม์ ชาลีจันทร์ ว่าด้วยการทูตไทย-นักการทูตไทย-การเมืองไทย ในวันที่ประชาธิปไตยยังไม่กลับสู่มือประชาชน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

4 Dec 2020
1 3 4 5 17

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save